กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมู่ 12 ตำบลน้ำผุด ปี 2568

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมู่ 12 ตำบลน้ำผุด ปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.น้ำผุด

ชมรม อสม.ตำบลน้ำผุด หมู่12

1.นางหนูน้อย หยูจีน
2..นางสุภา นุ่นใหม่
3..นางบุญโลม เกียรติภมร
4..นางอำพร แก้อ่อน
5..นางสาวพรทิพย์ ชัยสุรินทร์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

กลุ่มโรคไม่ติดต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นั้น เป็นชื่อเรียก กลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุกคลี หรือ ติดต่อ ผ่านตัวนำโรค (พาหะ) หรือสารคัดหลั่งต่างๆ หากแต่เกิดจากปัจจัยต่างๆ ภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากการใช้ชีวิต ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงอย่าง เหล้า บุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย อาหารหวานมันเค็มจัด และมีความเครียด โรคไม่ติดต่อเรื้อรังมักจะค่อยๆ มีอาการและรุนแรงขึ้นทีละน้อยหากไม่ได้มีการรักษาควบคุม กลุ่ม อสม.หมู่ 12 ตำบลน้ำผุดเล็งเห็นว่าโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงนั้น ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ
สถานการณ์ของโรคเบาหวานความกันหมู่ที่ 12 ตำบลน้ำผุดจากผลการคัดกรองประชากร 35 ปีขึ้นไปปี2564 พบกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 20.33ปี2565 พบกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 33.96 ปี 2566 พบกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 23.59และมีกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานร้อยละ 5.18 และความดันโลหิตสูงร้อยละ 11.ปี 2567 พบกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ21.18และมีกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานร้อยละ 10.83 และความดันโลหิตสูงร้อยละ 22.16ซึ่งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในปี 2567 ลดลงจากปี 2565 และ2566 หลังจากได้จัดทำโครงการ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดูแลติดตาม หากไม่ได้ดำเนินการจัดทำโครงการอาจนำไปสู่การเกิด โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง ตามลำดับ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ โดยมีแนวโน้มการเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ส่วนมากเป็นกลุ่มประชากรวัยทำงาน แต่แท้จริงแล้ว กลุ่มโรค เรื้อรัง(NCDs Xนั้นสามารถป้องกันได้ เพราะ สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงหลักนั้น เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงของตัวเรานั่นเอง
จากสถานการณ์ของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณหมู่12 ตำบลน้ำผุด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมู่ 1 2 ตำบลน้ำผุด ปี2568เพื่อเให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง และกลุ่มป่วยได้รับการเยี่ยมติดตามประภาวะโภชนาการและวัดความดันโลหิตที่บ้าน ประชาชนได้รู้ภาวะสุขภาพของตนเอง และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองเพื่อให้ลดการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

อย่างน้อยร้อยละ90

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการเพื่อได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่กลายเป็นกลุ่มป่วย

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการเพื่อได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่กลายเป็นกลุ่มป่วยร้อยละ 80

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนควบคุมภาวะของโรคให้อยู่ในสภาวะปกติ (ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี , ผู้ป่วยความดันโลหิตสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี)

กลุ่มเป้าหมายสามารถควบคุมสภาวะของโรคได้ดี(ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ร้อยละ 25 ผู้ป่วยความดันโลหิตสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ร้อยละ 60)

0.00
4 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการติดตามวัดความดันและเจาะน้ำตาลที่บ้าน

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการติดตามวัดความดันและเจาะน้ำตาลที่บ้านร้อยละ 100

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2025

กำหนดเสร็จ 31/08/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คัดเลือกเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ชื่อกิจกรรม
คัดเลือกเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2568 ถึง 31 มีนาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กำหนดแผนการนัดหมายคำนวณภาวะโภชนาการในกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
กำหนดแผนการนัดหมายคำนวณภาวะโภชนาการในกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการตรวจภาวะโภชนาการเป็นรายบุคคลและแนะนำให้คำปรึกษา

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินการตรวจภาวะโภชนาการเป็นรายบุคคลและแนะนำให้คำปรึกษา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 จัดหาวัสดุในการคัดกรองให้เพียงพอ เครื่องวัดความดัน, เครื่องชั่งน้ำหนัก)จำนวนอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 9 คน มีเตรื่องวัดความดันอยู่แล้ว 6 เครื่อง

ชื่อกิจกรรม
จัดหาวัสดุในการคัดกรองให้เพียงพอ เครื่องวัดความดัน, เครื่องชั่งน้ำหนัก)จำนวนอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 9 คน มีเตรื่องวัดความดันอยู่แล้ว 6 เครื่อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-เครื่องชั่ง น้ำหนัก เครื่องละ750 บ.X2เครื่อง  = 1,500 บ.
-เครื่องวัดความดันเครื่องละ2,800บ.X3เครื่อง = 8,400 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9900.00

กิจกรรมที่ 5 ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหาร โภชนาการ ที่เหมาะสมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่ได้รับการคัดเลือก จำนวน 20 คน

ชื่อกิจกรรม
ให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหาร โภชนาการ ที่เหมาะสมในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่ได้รับการคัดเลือก จำนวน 20 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าวิทยากร  3 ชม.X 600 บ. = 1,800 บ. -ค่าอาหารว่าง 2 มื้อX25บ.X20คน  = 1,000บ -ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อX70บ.X20คน  = 1,400บ - ป้ายไวนิลโครงการ 1.2X2.4 เมตร 432 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 พฤษภาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4632.00

กิจกรรมที่ 6 ติดตามผลการดำเนินงานการควบคุมภาวะโภชนาการในกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
ติดตามผลการดำเนินงานการควบคุมภาวะโภชนาการในกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 7 อาสาสมัครสาธารณสุขเยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
อาสาสมัครสาธารณสุขเยี่ยมติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 8 สรุปผลการดำเนินโครงการ รายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด

ชื่อกิจกรรม
สรุปผลการดำเนินโครงการ รายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำผุด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,532.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต
2.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการส่งเสริมภาวะโภชนาการเพื่อได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่กลายเป็นกลุ่มป่วย
3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยสามารถควบคุมสภาวะของโรคได้ (ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้, ผู้ป่วยความดันโลหิตสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้)
4.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการติดตามวัดความดันและเจาะน้ำตาลที่บ้าน


>