กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการนำร่องจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) ประจำปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุการเสียชีวิต ๒ ใน ๓ ของประชากรไทย ส่งผลต่อ ทั้งต้านเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศอีกทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุจากปัจจัยหลายด้านตั้งแต่การจัดบริการคัดกรองไม่ทั่วถึงและประชาชนขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการและองค

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 โรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุการเสียชีวิต ๒ ใน ๓ ของประชากรไทย ส่งผลต่อ ทั้งต้านเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศอีกทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุจากปัจจัยหลายด้านตั้งแต่การจัดบริการคัดกรองไม่ทั่วถึงและประชาชนขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการและองค์ความรู้ในการจัดการตนเอง ระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด - ๑๙ กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายลดความแออัดในสถานพยาบาล ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการคัดกรองและติดตามภาวะความดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาล มีการบันทึกข้อมูลสุขภาพของประชาชน และส่งต่อข้อมูลกับสถานพยาบาลโดยมีสถานที่ตั้งให้บริการอยู่ในชุมชน มีชื่อเรียกว่า สถานีสุขภาพติจิทัล (Digital Health Station) ซึ่งหมายถึง สถานที่สำหรับให้บริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของประชาชนทุกกลุ่มวัย ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอดเวลาเมื่อมีความต้องการตรวจเช็คสุขภาพของตนเอง หรือเมื่อแพทย์ต้องการติดตามภาวะสุขภาพของผู้ป่วย ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จึงมีความคาดหวังว่าจะช่วยให้ประชาชนทั้งกลุ่มปกติ และกลุ่มป่วยสามารถเข้าถึงบริการ การตรวจเฝ้าระวังทางสุขภาพได้สะดวกขึ้น และลดอัตราการป่วย การเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลงได้ จึงได้จัดทำโครงการนำร่องจัดตั้งสถานีสุขภาพในชุมชน ( Health Station) ขึ้น ในพื้นที่เขตบริการของศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน บ้านมัจฉา หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงของประชาชน

1.ประชาชนในพื้นที่บริการของศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน บ้านมัจฉา หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ได้มีจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเองในชุมชนนำร่อง (Health station) ในการตรวจเช็คสุขภาพ ร้อยละ 80

0.00 0.00
2 ข้อที่ 2. . เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น การวัดความดันโลหิต การเจาะเลือดตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การวัดรอบเอว
  1. ประชาชนสามารถเข้าถึงการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น การวัดความดันโลหิต การเจาะเลือดตรวจน้ำตาลปลายนิ้ว การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การวัดอกเอว ร้อยละ 80
0.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อให้ผู้ป่วยที่แพทย์ต้องติดตาม ความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด สามารถเข้าถึงบริการได้ อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น
  1. ผู้ป่วยที่แพทย์ต้องติดตาม ความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด สามารถเข้าถึงบริการได้ อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น ร้อยละ 80
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/10/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมจัดตั้งจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเอง Health station สำหรับกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มประชาชน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมจัดตั้งจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเอง Health station สำหรับกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มประชาชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 ป้ายโครงการ ป้าโครงการ 1 x 1 เมตรจำนวน 1 ป้าย    เป็นเงิน    120 บาท 1.2 เครื่องวัดความดันโลหิต จำนวน 4 เครื่อง          เป็นเงิน    4,600 บาท
1.3 เครื่องตรวจวัดน้ำตาลในเลือด จำนวน 3 เครื่อง   เป็นเงิน   4,830 บาท 1.4 เข็มเจาะน้ำตาล จำนวน 6กล่องๆละ 720 บาท (1กล่อง/200ชิ้น)                                                                 เป็นเงิน   4,320 บาท
1.5 แผ่นตรวจน้ำตาลในเลือด จำนวน 6 กล่องๆละ980 บาท                                          (1กล่อง/100ชิ้น)  เป็นเงิน   5,880 บาท 1.6 สำสีก้อนชุบแอลกอฮอล์ จำนวน 6 กล่องๆละ 450 บาท
                                         (1กล่อง/40แผง)   เป็นเงิน    2,700 บาท -
1.7 ถุงมือทางการแพทย์ จำนวน 8 กล่องๆละ 135 บาท
                                                                เป็นเงิน  1,080 บาท 1.8 ถ่านอัลคาไลน์ 1.5 V ขนาด AA จำนวน 40ก้อน  เป็นเงิน  1,100 บาท 1.9 ถ่านอัลคาไลน์ 1.5 V ขนาด AAA จำนวน 40ก้อน เป็นเงิน 1,100  บาท 1.10 เครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล 1 เครื่อง                   เป็นเงิน   790 บาท 1.11 ที่วัดส่วนสูง 2 เมตร                                   เป็นเงิน   590 บาท 1.12 สายวัดรอบเอว จำนวน 4 เส้น                      เป็นเงิน    560 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงบริการตรวจสุขภาพได้มากขึ้น สะดวกยิ่งขึ้น       2.ประชาชนมีความพึงพอใจในการใช้บริการจุด สถานีสุขภาพ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27670.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,670.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงบริการตรวจสุขภาพได้มากขึ้น สะดวกยิ่งขึ้น
2.ประชาชนมีความพึงพอใจในการใช้บริการจุด สถานีสุขภาพ


>