กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการนำร่องจัดตั้งสถานีสุขภาพชุมชน (Health Station) ปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไม่ติดต่อเป็นเหตุการเสียชีวิต ๒ ใน ๓ ของประชากรไทย ส่งผลต่อ ทั้งด้านเศรษฐกิจ และการพัฒนาประเทศอีกทั้ง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ซงมีสาเหตุจากปัจจัยหลายด้านตั้งแต่การจัดบริการคัดกรองไม่ทั่วถึงและ ประชาชนขาดโอกาสในการเข่าถึงบริการและองค์ความรู้ในการจดการตนเอง ระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัส โควิด - ๑๙ กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายลดความแออัดในสถานพยาบาล ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการคดกรองและ ติดตามภาวะความดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาล มีการบันทึกข้อมูลสุขภาพของประชาชน และการส่งต่อข้อมูลกับ สถานพยาบาลโดยมีสถานที่ตั้งให้บริการอยู่ในชุมชน มีชื่อเรียกว่า สถานีสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Station) ซึ่งหมายถึง สถานที่สำหรับให้บริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของประชาชนทุกกลุ่มวัย ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอดเวลาเมื่อมี ความต้องการตรวจเช็คสุขภาพของตนเอง หรือเมื่อแพทย์ต้องการติดตามภาวะสุขภาพของผู้ป่วย
ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จึงมีความคาดหวัง ว่าจะช่วยให้ประชาชนทงกล่มปกติ และกลุ่มป่วยสามารถเข้าถึงบริการ การตรวจเฝ้าระวังทางสุขภาพได้สะดวกขึ้น และลด อัตราการป่วยการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลงได้ จึงได้จัดทำโครงการนำร่องจัดตั้งสถานีสุขภาพในชุมชน ( Health Station) ขึ้น ในพื้นที่เขตบริการของศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน บ้านมัจฉา หมู่ที่ 6 ตำบลจะพระ อำเภอสทิงพระ จงหวัด สงขลา เพื่อความสะดวกในการเข้าถึงของประชาชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1. เพื่อจดั ตั้งจดุ บริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเองใน ชุมชนนำร่อง ( Health station) สำหรับประชาชนในพื้นที่ บริการของศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน บ้านมัจฉา หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

1.ประชาชนในพื้นที่บริการของศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน บ้านมัจฉา หมู่ที่ 6 ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัด สงขลา ได้มีจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพดว้ยตนเองในชุมชนนำ ร่อง (Health station) ในการตรวจเช็คสุขภาพ รอยละ 80

0.00
2 2. . เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการตรวจสุขภาพ เบื้องต้น เช่น การวดความดันโลหิต การเจาะเลือดตรวจ น้ำตาลปลายนิ้ว การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การวดั รอบเอว
  1. ประชาชนสามารถเข้าถึงการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น การ วัดความดันโลหิต การเจาะเลือดตรวจนำ้ ตาลปลายนิ้ว การชั่ง น้ำหนัก วัดส่วนสูง การวัดรอบเอว ร้อยละ 80
0.00
3 ข้อที่ 3. เพื่อให้ผู้ป่วยที่แพทย์ต้องติดตาม ความดันโลหิตและ ระดับน้ำตาลในเลือด สามารถเขาถึงบริการได้ อยางสะดวก มากยิ่งขึ้น
  1. ผู้ป่วยที่แพทย์ต้องติดตาม ความดันโลหิตและระดับน้ำตาล ในเลือด สามารถเข้าถึงบริการได้ อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น ร้อย ละ 80
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 80
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/10/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การจัดตั้งจุดบริการ ตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเอง ในชุมชนนำร่อง ( Health station) สำหรับกลุ่มเสี่ยง/ กลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มประชาชน ทั่วไป

ชื่อกิจกรรม
การจัดตั้งจุดบริการ ตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเอง ในชุมชนนำร่อง ( Health station) สำหรับกลุ่มเสี่ยง/ กลุ่มผู้ป่วย/กลุ่มประชาชน ทั่วไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 ป้ายโครงการ ป้ายขนาด 1 เมตร x 1 เมตร จำนวน 1 ป้าย  เป็นเงิน    120 บาท 1.2 เครื่องวดความดันโลหิต จำนวน 4 เครื่อง  เป็นเงิน    4,600 บาท 1.3 เครื่องตรวจวัดนำตาลในเลือด จำนวน 3 เคร่ือง  เป็นเงิน    4,830 บาท 1.4 เข็มเจาะน้ำตาล จำนวน 6 กล่องๆละ 720 บาท (1กล่อง/200ชิ้น) เป็นเงิน    4,320 บาท 1.5 แผ่นตรวจนำตาลในเลือด จำนวน 6 กล่องๆละ980 บาท (1กล่อง/100ชิน้  )  เป็นเงิน  5,880 บาท 1.6 สำสีกอนชุบแอลกอฮอล์ จำนวน 6 กล่องๆละ 450 บาท

(1กล่อง/40แผง)  เป็นเงิน    2,700 บาท

1.7 ถุงมือทางการแพทย์ จำนวน 8 กล่องๆละ 135 บาท เป็นเงิน 1,080 บาท 1.8 ถ่านอัลคาไลน์ 1.5 V ขนาด AA จำนวน 40 ก้อน เป็นเงิน 1,100 บาท 1.9 ถ่านอัลคาไลน์ 1.5 V ขนาด AAA จำนวน 40ก้อน เป็นเงิน 1,100 บาท 1.10 เครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล 1 เครื่อง    เป็นเงิน    790 บาท 1.11 ที่วัด ส่วนสูง 2 เมตร  เป็นเงิน    590 บาท 1.12 สายวัดรอบเอว จำนวน 4 เส้น  เป็นเงิน    560 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
27670.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,670.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงบริการตรวจสุขภาพได้มากขึ้น สะดวกยิ่งขึ้น
2.ประชาชนมีความพึงพอใจในการใชบริการจุด สถานีสุขภาพ


>