แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ รหัส กปท. L5237
อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
การดำเนินงานด้านสาธารณสุข แบ่งรูปแบบการดำเนินงานออกเป็น 4 ด้าน คือ การส่งเสริม สุขภาพ การป้องกันโรค การรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งการดำเนินงานให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้านนั้น สามารถทำให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรงได้ แต่การที่จะทำให้ครอบคลุมทั้ง 4 ด้านนั้นเป็นเรื่องยากเพราะปัจจุบันบริบทของการเกิดโรคได้เปลี่ยนแปลงไปกล่าวคือ ในอดีตการสาธารณสุขของไทยยังไม่ก้าวหน้าเท่าในปัจจุบัน ประชาชนมักเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อที่เกิดจากปฏิกิริยาของเชื้อแบคทีเรียและเชื้อไวรัส ที่มากระทบต่อร่างกาย เช่น ไข้หวัด อุจจาระร่วง เป็นต้น แต่ปัจจุบันเมื่อการสาธารณสุขเจริญ ก้าวหน้าขึ้น รวมทั้งวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปโรคที่เกิดขึ้นกับประชาชนจึงกลายเป็นโรคที่เกิดจากการไม่ดูแลพฤติกรรมสุขภาพ ของตนเอง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ อุบัติเหตุ ฯลฯ อีกทั้งยังมีโรคติดต่อที่กลับมาเป็น ปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญอีก เช่น โรควัณโรค เป็นต้น และที่สำคัญยังมีโรคติดต่อที่ยังไม่เคยเกิดขึ้นมาสร้าง ปัญหาและเป็นภัยต่อสุขภาพของประชาชนเพิ่มขึ้นอีก คือ โรคเอดส์ โรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 2009 เป็นต้น การจะแก้ไขปัญหาดังกล่าวทุกฝ่ายต้องผนึกกำลังสร้างค่านิยมด้านสุขภาพที่ถูกต้องและสอดคล้องกับวิถีชีวิต ของประชาชนเน้นการสร้างสุขภาพและการป้องกันมากกว่าการซ่อมสุขภาพโดยส่งเสริมและสนับสนุนการมี ส่วนร่วมของภาคประชาชนให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพของชุมชนได้เอง เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพที่มีอยู่ในชุมชนให้เข้มแข็ง แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งสถานบริการ สาธารณสุขต้องมีการจัดกิจกรรมที่สามารถพัฒนาและปฏิบัติการโดยเน้นเชิงรุก พัฒนารูปแบบที่เป็นนวัตกรรม ที่ใช้ความรู้นำมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่านิยมของประชาชน เกิดการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องทำให้ลดอัตราเสี่ยงของการเกิดโรค ทำให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้าอย่างยั่งยืน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เป็นบุคคลที่สำคัญและมีบทบาทหน้าที่ ในการดำเนินงานและให้การช่วยเหลือ เป็นผู้ประสานงานและเป็นตัวเชื่อมระหว่างภาครัฐกับประชาชนในชุมชนในการดำเนินงาน กิจกรรมด้านสาธารณสุขดังกล่าว เพื่อแก้ไขปัญหาระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมาโดยตลอด แต่ในหลายปีที่ผ่านมา นโยบายและการดำเนินกิจกรรมด้านสาธารณสุขจะแปรเปลี่ยนไปตามสภาวการณ์ทำให้อาสาสมัครสาธารณสุข ต้องมีบทบาทหน้าที่และภารกิจเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ซึ่งทำให้ในปัจจุบันอาสาสมัครสาธารณสุข ขาด แรงจูงใจ ความมั่นใจ ทักษะ วิชาการและองค์ความรู้ใหม่ ในการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขตามนโยบายและ กิจกรรมที่แปรเปลี่ยนไป การพัฒนาศักยภาพเพิ่มพูนความรู้ทักษะวิชาการ และการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เพื่อ เพิ่มสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขจึงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่ง
ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ( หมู่ที่ 1, หมู่ที่ 2, หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 7 ) ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเพื่อพัฒนาเครือข่ายและศักยภาพอาสาสมัคร สาธารณสุขขึ้นมา อันจะช่วยส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินกิจกรรมสาธารณสุขต่างๆ ในระดับ พื้นที่ให้ดียิ่งขึ้น
-
1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1. อาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้าน มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ 80ตัวชี้วัด : 1. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. ข้อที่ 2. . เพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในตำบลจะทิ้งพระ ให้มีศักยภาพในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตัวชี้วัด : 2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีทักษะในการใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. ข้อที่ 3. เพื่อสร้างการบริการเชิงรุก ด้านการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่โดยใช้กลไกของอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนในพื้นที่ได้รับบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ก่อนประสานต่อหน่วยงานต่างๆไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. กิจกรรมที่ 1. การอบรมให้ความรู้สำหรับ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)รายละเอียด
1.1 ป้ายโครงการ ขนาด 2.4 เมตร x 1.2 เมตรจำนวน1 ป้าย เป็นเงิน 415 บาท 1.2 วิทยากร จำนวน 2 คนๆละ 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท 1.3 ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม 58 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3,480 บาท 1.4 ค่าอาหารว่าง สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม 58 คน x 35 บาท x2 มื้อ เป็นเงิน 4,060 บาท
1.4 ค่าเอกสารการฝึกอบรม
ค่าวัสดุ /อุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม เป็นเงิน 3,500 บาท
รวมเป็นเงิน 16,255 บาทงบประมาณ 16,255.00 บาท - 2. กิจกรรมที่ 2 อบรมเสริมสร้างทักษะในการใช้อุปกรณ์ต่างๆรายละเอียด
1.1 วิทยากร 1.2 จำนวน 2 คนๆละ 4 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท 1.2 ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม 58 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 3,480 บาท 1.3 ค่าอาหารว่าง สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม 58 คน x 35 บาท x2 มื้อ เป็นเงิน 4,060 บาท
1.4 อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับโครงการ เป็นเงิน 1,405 บาทรวมเป็นเงิน 13,745 บาท
งบประมาณ 13,745.00 บาท - 3. กิจกรรมที่ 2 อบรมเสริมสร้างทักษะในการใช้อุปกรณ์ต่างๆ กิจกรรมที่ 3รายละเอียด
อสม.คัดกรองประชาชุนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 100 คน ในพ้นที่หมู่ที่ 1,2,6,7 จำนวน 5 เดือน
งบประมาณ 0.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
รวมงบประมาณโครงการ 30,000.00 บาท
- อาสาสม้ัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค สุขภาพของประชาชนในพื้นที่ สามารถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- อาสาสม้ัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีทักษะในการใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด และอุปกรณ์ต่าง ๆ
- ประชาชนในพื้นที่ได้รับการบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยอาสาสม้ัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ทีมีประสุทธิภาพเหมาะสมถูกต้อง
- อาสาสม้ัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้รับการประเมินความรู้และทักษะในกการปฏิบัติงานด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รักษาฟื้นฟูสมรรถภาพ เพิ่มมากขึ้น
1 1. จัดประชุมแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ( หมู่ที่ 1, หมู่ที่ 2, หมู่ที่ 6 และหมู่ที่ 7 ) ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา เพื่อชี้แจงผลการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ปัญหาและอุปสรรค ในรอบปีที่ผ่านมา 2. จัดประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขระดับหมู่บ้าน เพื่อประเมินความรู้ ประเมินส่วนขาดและประเมินสมรรถนะของอาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อสรุปปัญหา เพื่อแก้ไขและพัฒนา
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ รหัส กปท. L5237
อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะทิ้งพระ รหัส กปท. L5237
อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................