กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กปฐมวัยโรงเรียนพัฒนศาสตร์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ

โรงเรียนพัฒนศาสตร์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละ ของการส่งเสริมและพัฒนาโภชนาการที่เหมาะสมแก่เด็กในวัยปฐมวัยที่มีภาวะทุพโภชนาการ

 

69.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาโภชนาการที่เหมาะสมแก่เด็กในวัยปฐมวัยที่มีภาวะทุพโภชนาการ 2) เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก โดยการเสริมสารอาหารที่ขาด 3) เพื่อให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองในการดูแลโภชนาการของเด็ก 4) เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีให้กับเด็กทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ส่งเสริมและพัฒนาโภชนาการที่เหมาะสมแก่เด็กในวัยปฐมวัยที่มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 80 ลดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก โดยการเสริมสารอาหารที่ขาด ร้อยละ 80 ให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองในการดูแลโภชนาการของเด็ก ร้อยละ 80 เสริมสร้างสุขภาวะที่ดีให้กับเด็กทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

69.00 69.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 69
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2025

กำหนดเสร็จ 31/08/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรม ส่งเสริมกิจกรรมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
อบรม ส่งเสริมกิจกรรมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1.  จัดประชุมครูนักเรียนเพื่อกำหนดนโยบาย "โครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็กปฐมวัยโรงเรียนพัฒนศาสตร์ 2.  เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติ 3.  แต่งตั้งคณะกรรมการการดำเนินงาน 4.  ดำเนินงานตามโครงการ
4.1 จัดประชุมคณะครูที่เข้าร่วมโครงการ    - จัดประชุมครูเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทอาหารที่เด็กชอบและต้องการ 4.2 กิจกรรม 1 กิจกรรมเอบรมให้ความรู้ด้านโภชนาการให้กับผู้ปกครองและเด็ก         จัดสัมมนาให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ*    - เชิญนักโภชนาการเข้ามาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าของอาหารต่างๆ    - สอนเด็กๆ ถึงกลุ่มอาหารหลัก เช่น โปรตีน, คาร์โบไฮเดรต, เกลือแร่, วิตามิน และไขมัน     การอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง: สร้างเวทีการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดีต่อเด็ก และวิธีการจัดเตรียมอาหารที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก รวมถึงการป้องกันปัญหาทุพโภชนาการในเด็กปฐมวัย     การเสวนาเกี่ยวกับวิธีการเลี้ยงดูเด็กอย่างมีสุขภาพดี: การเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองแลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลโภชนาการของเด็กและการเลือกอาหารที่เหมาะสม            4.3 กิจกรรม 2 กิจกรรมการส่งเสริมการออกกำลังกาย    -กิจกรรมที่เด็กสามารถเคลื่อนไหวได้ เช่น การเต้นตามเพลงเพื่อสุขภาพ, การเล่นกีฬาเบา ๆ เช่น วิ่งแข่ง, กระโดดเชือก หรือโยคะ    -อาจมีการจัดกิจกรรมที่เน้นการเคลื่อนไหวร่างกายหลายท่าผสมผสานกัน เช่น การกระโดดข้ามกรวย, การวิ่งหลบสิ่งกีดขวางหรือการโยนห่วง 4.4 กิจกรรม 3 กิจกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ    กิจกรรมสร้างสรรค์อาหาร: เด็กๆ สามารถร่วมทำอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เช่น การทำสลัดผลไม้, การเตรียมขนมเพื่อสุขภาพ การทำแสนวิช  ข้าวต้ม
4.5 กิจกรรม 4 กิจกรรมเกมเสริมพัฒนาการ      ใช้ภาพหรือของเล่นที่มีอาหารประเภทต่าง ๆ มาให้เด็กจำแนก เช่น อาหารที่ให้พลังงานสูง (ข้าว, ขนม) หรืออาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง (ผัก, ผลไม้) ผ่านเกมที่สนุกสนาน 4.6 การติดตามและประเมินผล*:    - ตรวจสอบและประเมินสุขภาพของเด็ก เช่น การประเมินน้ำหนัก ส่วนสูง และพลังภาพการเรียนรู้    – ใช้แบบสอบถามเพื่อรับฟังความเห็นจากเด็กและผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารเช้าผู้บริหารนิเทศติดตามการ 5.  ดำเนินงาน คอยอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามโครงการ 6.  ทำรายงานประเมินผลโครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำดำ -ค่าวิทยากร 600 x 2ชั่วโมง x 1คน=1200 -ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมโครงการ 80 x30=2,400 -ค่าอาหารกลางวัน 39 x50=1,950 รวมเงินทั้งหมด 5,550 กรวยกระโดด    5ชุด x 205=1025 ชุดห่วงพลาสติก 5ชุด x 205=1025 รวมเงินทั้งหมด 2,050 ผักสลัด 15x120 = 1,800 ผักกาดหอม 15x120 = 1,800 แครอด 15x45= 675 แอปเปิ้ล 100x10 = 1,000 น้ำสลัด  15x100 = 1,500 ไข่ไก่  240x5 = 1,200 ขนมปัง   24x45 = 1,080 องุ่น       15กิโลx100 = 1,500 มะม่วง    15กิโลx40 = 600 ข้าวสารมะลิ  8 กิโลx35 = 280 อกไก่      20 กิโลx100 = 2,000 มายองเนส 4 ถุง x 46 = 184 ซอสมะเขือเทศ 4 ถุง x 46 = 184 รวมเงินทั้งหมด 13,803 ชุดผลไม้จำลอง  6ชุด x 159=954 ชุดผักจำลอง     6ชุด x 159=954 ชุดอาหารจำลอง 6ชุด x 159=954 ชุดตัวต่อ 5ชุด x 159=477 ชุดจิ๊กซอว์ 3ชุด x 159=477 รวมเงินทั้งหมด 3,816 รวมงบประมาณทั้งสิ้น  25,169 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

วัตถุประสงค์ 1)  เพื่อส่งเสริมและพัฒนาโภชนาการที่เหมาะสมแก่เด็กในวัยปฐมวัยที่มีภาวะทุพโภชนาการ

2)  เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก โดยการเสริมสารอาหารที่ขาด 3) เพื่อให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองในการดูแลโภชนาการของเด็ก 4) เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะที่ดีให้กับเด็กทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ส่งเสริมและพัฒนาโภชนาการที่เหมาะสมแก่เด็กในวัยปฐมวัยที่มีภาวะทุพโภชนาการ ร้อยละ 80 ลดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก โดยการเสริมสารอาหารที่ขาด ร้อยละ 80 ให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองในการดูแลโภชนาการของเด็ก ร้อยละ 80 เสริมสร้างสุขภาวะที่ดีให้กับเด็กทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
25169.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,169.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ส่งเสริมและพัฒนาโภชนาการที่เหมาะสมแก่เด็กในวัยปฐมวัยที่มีภาวะทุพโภชนาการ
2.ลดภาวะทุพโภชนาการในเด็ก โดยการเสริมสารอาหารที่ขาด
3.ให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่ผู้ปกครองในการดูแลโภชนาการของเด็ก
เสริมสร้างสุขภาวะที่ดีให้กับเด็กทั้งด้านร่างกายและจิตใจ


>