แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา รหัส กปท. L1513
อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. นายสายัณ หมื่นละม้าย
2. นางสุณี ง่วนสน
3. นายอำพันธุ์บุญทองแก้ว
4. นางวรรดี อินทร์แก้ว
5. นางวรรณศิริ เพชรแก้ว
ปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) โดยเฉพาะโรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus: DM) และโรคความดันโลหิตสูง (Hypertension: HT) ถือเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โรคเหล่านี้จัดเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว อาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนรุนแรง เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ โรคไตวายเรื้อรัง แผลเรื้อรัง ตลอดจนการสูญเสียอวัยวะบางส่วน ส่งผลให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ลดลง รวมทั้งเกิดภาระค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลทั้งในระดับบุคคลและระบบสาธารณสุขโดยรวม จากข้อมูลการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในพื้นที่หมู่ที่ 13 บ้านควนจำปา ประจำปี พ.ศ. 2567 พบว่ามีประชาชนเข้ารับการคัดกรองจำนวนทั้งสิ้น 145 คน ผลการคัดกรองโรคเบาหวาน พบว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ 137 คน คิดเป็นร้อยละ 94.48 กลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.07 และกลุ่มที่สงสัยว่าเป็นรายใหม่จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 3.45 และผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง พบว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ 58 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 กลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 34.48 และกลุ่มที่สงสัยว่าเป็นรายใหม่ จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 25.52 การดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่หมู่ที่ 13 บ้านควนจำปาที่ผ่านมา ได้รับความร่วมมือจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 11 คน ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในการให้บริการตรวจคัดกรอง โดยใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ได้รับจาก “ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 13” ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้แก่ เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องวัดความดันโลหิต และเครื่องตรวจระดับน้ำตาลในเลือด ปัจจุบันอุปกรณ์ทางการแพทย์ดังกล่าวได้ชำรุดเสียหายและไม่สามารถใช้งานได้ ส่งผลให้การให้บริการตรวจคัดกรองแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ไม่ครอบคลุมและไม่เพียงพอ จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าว อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 13 บ้านควนจำปา จึงได้จัดทำโครงการ “คัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 13 บ้านควนจำปา ประจำปี 2568” เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปในพื้นที่ได้รับการตรวจคัดกรองอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจซ้ำทุก 6 เดือน และประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตทุก 7 วันอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเพื่อพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในด้านการส่งเสริมสุขภาพ และเพื่อจัดหาเครื่องมือทางการแพทย์ที่เพียงพอและเหมาะสมสำหรับการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ
-
1. เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทุก 6 เดือนตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทุก 6 เดือนขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. เพื่อจัดหาเครื่องมือทางการแพทย์ที่จำเป็นและเพียงพอสำหรับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของหมู่บ้านมีเครื่องมือทางการแพทย์ที่จำเป็นและเพียงพอสำหรับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
4. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามวัดระดับความดันโลหิตซ้ำอย่างต่อเนื่อง ทุก 7 วันตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามวัดระดับความดันโลหิตซ้ำอย่างต่อเนื่อง ทุก 7 วันขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. จัดซื้อเครื่องมือทางการแพทย์รายละเอียด
กิจกรรมย่อย
จัดซื้อเครื่องมือทางการแพทย์ที่จำเป็นสำหรับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
เครื่องชั่งน้ำหนัก
เครื่องวัดความดันโลหิต
เครื่องตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
เครื่องวัดความเค็มในอาหาร (CHEM Meter)
งบประมาณ
ค่าเครื่องชั่งน้ำหนักแบบดิจิตอล จำนวน 2 เครื่องๆละ 750 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
ค่าเครื่องวัดความดันโลหิตแบบดิจิตอล จำนวน 2 เครื่องๆละ 2,800 บาท เป็นเงิน 5,600 บาท
ค่าชุดเครื่องตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 1 ชุด เป็นเงิน 2,800 บาท
ประกอบด้วย
3.1 เครื่องตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 1 เครื่อง
3.2 Strip จำนวน 50 ชิ้น
3.3 เข็มเจาะ จำนวน 50 ชิ้น
เครื่องวัดความเค็มในอาหาร (CHEM Meter) จำนวน 1 เครื่อง เป็นเงิน 1,500 บาท
งบประมาณ 11,400.00 บาท - 2. คัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายละเอียด
กิจกรรมย่อย
คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
ตรวจวัดปริมาณโซเดียมในอาหารที่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงบริโภคด้วยเครื่องวัดความเค็ม (Chem meter) พร้อมแจ้งผลการตรวจวัดให้ทราบ และให้คำแนะนำในการลดโซเดียม
ประเมินผลการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
งบประมาณ 0.00 บาท - 3. ให้ความรู้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงรายละเอียด
กิจกรรมย่อย
ให้ความรู้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
ติดตามวัดระดับความดันโลหิตกลุ่มเสี่ยงซ้ำทุก 7 วัน
งบประมาณ 0.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
หมู่ที่ 13 บ้านควนจำปา ตำบลควนเมา อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง
รวมงบประมาณโครงการ 11,400.00 บาท
ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทุก 6 เดือน
มีเครื่องมือทางการแพทย์ที่จำเป็นและเพียงพอสำหรับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามวัดระดับความดันโลหิตซ้ำอย่างต่อเนื่อง ทุก 7 วัน
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา รหัส กปท. L1513
อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา รหัส กปท. L1513
อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................