กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปันน้ำใจ สร้างสังคมแห่งความเท่าเทียม ส่งเสริมคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางในชุมชน ประจำปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ประจัน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแน

1นายมะรูดิง ยาโงะ
2.นางสาวนิตยา หลีหมัน
3.นาวสาวฟารีด๊ะ ตูแวปูเตะ
4.นางสาวแวซำซียะปารามัล
5.นางสาวปาอีซะห์ โต๊ะอีแม

เขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแน รับผิดชอบ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของคนไทย เป็นอีกหนึ่งปัญหาสุขภาพที่มีเพิ่มมากขึ้น และเป็นหนึ่งในประเด็นที่น่ากังวลในสังคมของประเทศไทย ณ ปัจจุบัน ซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกเพศทุกวัยที่มีสัดส่วนสูงเพิ่มขึ้นในทุกปี ปัญหาสุขภาพจิตของประเทศไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องในสังคมไทย เนื่องจากสภาพปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลกระทบให้แต่ละกลุ่มวัยต้องเผชิญกับปัญหาทางจิตใจที่แตกต่างกัน ที่ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งต่อตนเองและบุคคลในสังคมรอบข้าง เรื่องของสุขภาพจิตในสังคมนั้นอาจนำพาไปสู่ความสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล จึงเป็นประเด็นสำคัญที่ต้องได้รับการยกระดับประสิทธิภาพ ในการแก้ไขอย่างจริงจัง และต่อเนื่องจากทุกภาคส่วน
แม้ว่าประเทศไทยจะมีผู้ป่วยสุขภาพจิตที่เข้ารับการรักษา 2.9 ล้านคน แต่ผู้มีปัญหาอาจมากถึง 10 ล้านคน ทำให้สัดส่วนผู้มีปัญหาสุขภาพจิตสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับโลก ทั้งหมดสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาจากการเข้าถึงการรักษา และมีผู้ที่ไม่ได้รับการรักษาจำนวนมาก รายงานการศึกษาความชุกของโรคจิตเวชและปัญหาสุขภาพจิต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบือแนปีแน เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลผู้พิการทางจิตให้ทุเลาจากการเจ็บป่วย จึงได้จัดทำชุมชนสุขภาพจิตดี พิชิตสุขภาพใจ ที่บือแน ประจำปี2568 ขึ้น เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของผู้ป่วยจิตเวช ป้องกันการเกิดอาการแทรกซ้อนที่อาจเป็นอันตราย ส่งผลให้ผู้ป่วยจิตเวชสามารถดำเนินชีวิตในชุมชนได้ตามศักยภาพ และเป็นบุคคลที่มีคุณค่าของสังคมได้มากที่สุด อีกทั้งยัง ทำให้เกิดเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยจิตเวชขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยได้รับความรู้และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อ
2. เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2025

กำหนดเสร็จ 30/06/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการชุมชนสุขภาพจิตดี พิชิตสุขภาพใจ ที่บือแน ประจำปี 2568

ชื่อกิจกรรม
โครงการชุมชนสุขภาพจิตดี พิชิตสุขภาพใจ ที่บือแน ประจำปี 2568
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ชนิดกิจกรรม งบประมาณ    ระบุวัน/ช่วงเวลา 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้     กิจกรรมที่ 1 แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ให้ความรู้ระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม. ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช และเครือข่ายผู้นำชุมชน
1. ค่าอาหารกลางวัน 60 คน X 70 บาท X 1 มื้อ X 1 ครั้ง                   เป็นเงิน 4,200 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่อง 60 คน X 30 บาท X 2 มื้อ X 1 ครั้ง            เป็นเงิน 3,600 บาท
3. ค่าไวนิลขนาด 1.22.5 เมตร
เป็นเงิน 1,200 บาท 4. ค่าไวนิลขนาด 21
29.7 เซนติเมตร จำนวน 6 ผืน x 150บาท เป็นเงิน 900บาท 4. ค่าวิทยากรผู้เข้าอบรม จำนวน 2 คนๆละ 600 บาท 6 ชั่วโมง x 1 วัน  เป็นเงิน 3,6๐0 บาท
(รวมเงิน 13,500 บาท)
เมษายน 2568

2.พัสดุสำนักงาน 1. กระดาษชาร์ท 10 แผ่น ๆละ 5 บาท                                     เป็นเงิน 50  บาท
2. ปากกาเคมี 10  ด้าม ๆละ 15 บาท
เป็นเงิน 150  บาท 3.กระดาษโพสต์อิท จำนวน 5 ชิ้น ชิ้นละ 25 บาท เป็นเงิน 125บาท 4.คู่มือ 60 เล่มๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท (รวมเงิน 2,125 บาท)
3.กิจกรรมติดตามประเมินผล    กิจกรรมที่1 กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านโดยเครือข่าย เดือนละ 1 ครั้ง ระยะเวลา 3 เดือน
1.ค่าติดตามเยี่ยมบ้านโดยเครือข่าย จำนวน 3 ครั้งๆ ละ 50บาทจำนวน 45 คน เป็นเงิน 6,750 บาท
2.ค่าอาหารกลางวัน 45 คน X 70 บาท X 1 มื้อ X 3 ครั้ง                   เป็นเงิน 9,450 บาท
รวมเงิน 16,200 บาท)                                                                 เมษายน 2567 รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 31,825.00 บาท (เงินสามหมื่นหนึ่งพันแปดร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน) หมายเหตุ  สามารถถัวเฉลี่ยจ่ายได้ทุกรายการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชได้คะแนนประเมินความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
  2. ลดการตีตราและเพิ่มการยอมรับจากสังคม ชุมชนมีทัศนคติดีขึ้นต่อผู้ป่วยจิตเวช ทำให้ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
31825.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,825.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชได้คะแนนประเมินความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
2. ลดการตีตราและเพิ่มการยอมรับจากสังคม ชุมชนมีทัศนคติดีขึ้นต่อผู้ป่วยจิตเวช ทำให้ผู้ป่วยสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างปกติ


>