กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคนอุใดสุขภาพดีมีสุข หยัดได้ หมู่ที่ 3

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

อสม.หมู่ที่3

1. นางสาวดวงใจ เพชรดำ ประธาน
2. นางสาววันเพ็ญ ราชเมืองขวาง รองประธาน
3. นางสาวพิกุล แก้วสุวรรณ เลขานุการ
4. นางกนกอร พิลาดี เหรัญญิก
5. นางสุมาลี มั่งคั่งคณะกรรมการ

หมู่ที่ 3 ตำบลอุใดเจริญ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัญหาสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญ ที่มีผลต่อภาวะเศรฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ ดังนั้นการสงเสริม ค่านิยมด้านสุขภาพที่ถูกต้อง การตรวจสอบสุขภาพอย่างง่าย เบื้องต้นเป็นเรื่องสำคัญ หากได้ปลูกฝังและสร้างเสริมพฤติกรรมและรู้ทันอาการที่ไม่พึงประสงค์ จะทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองคนรอบข้าง ตลอดจนแนวทางในการควบคุมป้องกันโรคที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพของตนและประชาชนได้ ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมให้กับแกนนำ และสมาชิกสุขภาพชุมชน เครื่องมือ อุปกรณ์ที่จำเป็นเบื่องต้น ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ให้ สามารถช่วยเหลือตนเองและสังคมได้ กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม) ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว และให้สอดคล้องกับปัญหาที่เกิดในพื้นที่เช่น อาการstroke fast track (โรคหลอดเลือดในสมองตีบ-แตก-ตัน)โรคหัวใจขาดเลือด (Heart attack)รวมถึง โรคเบาหวานความดัน เป็นต้น จากการสำรวจข้อมูลสรุปตาม (TACNAP สสส) และการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญ มีเคส ที่เกี่ยวกับอาการตามโรคข้างต้นต่อเดือนหลายเคสในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 10% จากสถิติจากปีที่ผ่านมา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและอาการของโรคเบื้องต้น

ประชาชนเข้าถึงการบริการสุขภาพได้ง่าย ทั่วถึง

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนได้ตรวจสุขภาพอย่างง่ายได้

ลดอันตรายจากอัตราเสี่ยงจากโรค ที่มีอาการ เฉียบพลันได้อีกระดับหนึ่ง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใส่ใจและคัดกรองสุขภาพตนเอง และคนรอบข้าง
2. สามารถตรวจคัดกรอง สุขภาพและอาการเบื้องต้นได้อย่างรวดเร็ว
3. เข้าใจโรคและเกิดการปฏิบัติและดูแล และรักตัวเองมากขึ้น


>