กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคนอุใดสุขภาพดีมีสุข หยัดได้ หมู่ที่ 6

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ

อสม.หมู่ที่ 6

1. นางสาวซีเต๊าะ มานิตประธาน
2. นางสาวจันจิรา มานิต รองประธาน
3. นายมะเหลก เหล็มรุย เหรัญญิก
4. นางสาวศศิวิมล อาแว เลขานุการ
5. ว่าที่ร้อยตรีวรรณา สตันน๊อตกรรมการ

หมู่ ที่6 ตำบลอุใเจริญ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัญหาสุขภาพเป็นปัญหาสำคัญ ที่มีผลต่อภาวะเศรฐกิจและสังคม ทั้งส่วนบุคคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ ดังนั้นการสงเสริม ค่านิยมด้านสุขภาพที่ถูกต้อง การตรวจสอบสุขภาพอย่างง่าย เบื้องต้นเป็นเรื่องสำคัญ หากได้ปลูกฝังและสร้างเสริมพฤติกรรมและรู้ทันอาการที่ไม่พึงประสงค์ จะทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองคนรอบข้าง ตลอดจนแนวทางในการควบคุมป้องกันโรคที่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพของตนและประชาชนได้ ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมให้กับแกนนำ และสมาชิกสุขภาพชุมชน เครื่องมือ อุปกรณ์ที่จำเป็นเบื่องต้น ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ให้ สามารถช่วยเหลือตนเองและสังคมได้ กลุ่มอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม) ได้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าว และให้สอดคล้องกับปัญหาที่เกิดในพื้นที่เช่น อาการstroke fast track (โรคหลอดเลือดในสมองตีบ-แตก-ตัน)โรคหัวใจขาดเลือด (Heart attack)รวมถึง โรคเบาหวานความดัน เป็นต้น จากการสำรวจข้อมูลสรุปตาม (TACNAP สสส) และการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญ มีเคส ที่เกี่ยวกับอาการตามโรคข้างต้นต่อเดือนหลายเคสในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา 10% จากสถิติจากปีที่ผ่านมา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและอาการของโรคเบื้องต้น

ประชาชนเข้าถึงการบริการสุขภาพได้ง่าย ทั่วถึง

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนได้ตรวจสุขภาพอย่างง่ายได้

ลดอันตรายจากอัตราเสี่ยงจากโรค ที่มีอาการ เฉียบพลันได้อีกระดับหนึ่ง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการ การเฝ้าระวังและการช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรค

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการ การเฝ้าระวังและการช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการ การเฝ้าระวังและการช่วยเหลือผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรค

-  Stroke fast track (โรคหลอดเลือดในสมองตีบ-แตก-ตัน)
-  (Heart attack) โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน -  ความดัน เบาหวาน ไขมันในเลือด 1.  ป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.2 x 2.5เมตร เป็นเงิน 450 บาท 2.  ค่าวิทยากรให้ความรู้ 4 ชั่วโมง ๆ ละ600บาท เป็นเงิน  2,400 บาท 3.  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คน ๆละ 35x 2 มื้อ คิดเป็นเงิน 2,800 บาท 4.  ค่าอาหารกลางวัน 40 คนๆละ 70 คิดเป็นเงิน 2,800 บาท 5.  ค่าเครื่อง ชั่งน้ำหนัก 1 เครื่องๆละ1,000บาท คิดเป็นเงิน 1,000 บาท 6.  ค่าเครื่องวัดความดัน 1 เครื่องๆละ 2,000 คิดเป็นเงิน 2,000 บาท 7.  ค่าเครื่องวัดออกซิเจน 1 เครื่องๆ1,000  คิดเป็นเงิน 1,000 บาท 8.  เครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด พร้อมแถบตรวจ และเข็ม เป็นเงิน 1,450 บาท 9.  ค่าชุดความรู้และเอกสารประกอบการอบรม ชุดละ 50บาท x 40 คน
คิดเป็นเงิน 2,000บาท 10. ค่าเข้าเล่ม ค่าอื่นๆเป็นเงิน  350 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใส่ใจและคัดกรองสุขภาพตนเอง และคนรอบข้าง
  2. สามารถตรวจคัดกรอง สุขภาพและอาการเบื้องต้นได้อย่างรวดเร็ว
  3. เข้าใจโรคและเกิดการปฏิบัติและดูแล และรักตัวเองมากขึ้น
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16250.00

กิจกรรมที่ 2 ฝึกปฏิบัติวิธีการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินในการ ฟื้นคืนชีพผู้ป่วยโดยวิธีการ (CPR) และ การเคลื้อนย้ายผู้ป่วย

ชื่อกิจกรรม
ฝึกปฏิบัติวิธีการช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินในการ ฟื้นคืนชีพผู้ป่วยโดยวิธีการ (CPR) และ การเคลื้อนย้ายผู้ป่วย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ลงพื้นที่เฝ้าระวังคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป/ด้วยแบบสอบถาม/และการให้ความรู้ควบคู่กันไป

ชื่อกิจกรรม
ลงพื้นที่เฝ้าระวังคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป/ด้วยแบบสอบถาม/และการให้ความรู้ควบคู่กันไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กันยายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายใส่ใจและคัดกรองสุขภาพตนเอง และคนรอบข้าง
2. สามารถตรวจคัดกรอง สุขภาพและอาการเบื้องต้นได้อย่างรวดเร็ว
3. เข้าใจโรคและเกิดการปฏิบัติและดูแล และรักตัวเองมากขึ้น


>