กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ

โรงเรียนศาลาฟี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละนักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐาน

 

90.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความตระหนักในโภชนาการ: ส่งเสริมความรู้ให้เด็กและผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่ดี 2) เพื่อให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ มีคุณค่าและมีความปลอดภัย 3) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน 4) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 5) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี ทีเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง

นักเรียน ผู้ปกครอง แม่ครัว ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องทุพโภชนาการหรืออาหารที่ดี ร้อยละ 90 นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีคุณค่าและมีความปลอดภัย ร้อยละ 100 นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูง  ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90 นักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ร้อยละ 90 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง ร้อยละ 90

90.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 61
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/06/2025

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม 1 จัดประชุมคณะครูเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทอาหารที่เด็กชอบและต้องการ กิจกรรม 2 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง แม่ครัวและครู กิจกรรม 3 จัดทำอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพพลภาพ โรงเรียนศาลาฟี

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม 1 จัดประชุมคณะครูเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทอาหารที่เด็กชอบและต้องการ กิจกรรม 2 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง แม่ครัวและครู กิจกรรม 3 จัดทำอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพพลภาพ โรงเรียนศาลาฟี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1.  จัดประชุมครูนักเรียนเพื่อกำหนดนโยบาย โครงการอาหารเช้าเพื่อสุขภาพเด็กทุพโภชนาการ โรงเรียนศาลาฟี 2.  เสนอโครงการเพื่อการอนุมัติ 3.  แต่งตั้งคณะกรรมการการดำเนินงาน 4.  ดำเนินงานตามโครงการ
4.1 การสำรวจความต้องการ*:    - จัดประชุมกับผู้ปกครองและครูเพื่อรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับประเภทอาหารที่เด็กชอบและต้องการ 4.2 การจัดซื้อวัตถุดิบ*:    - หาซื้อวัตถุดิบสดใหม่ เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก ขนมปังผลไม้ หรืออาหารที่มีประโยชน์    - ร่วมมือกับร้านค้าหรือเกษตรกรท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนการใช้วัตถุดิบคุณภาพ 4.3 การจัดเตรียมอาหาร*:    - จัดตั้งทีมงานที่มีประสบการณ์ในการทำอาหารหรือการจัดการอาหารให้แก่เด็ก    - จัดทำตารางเมนูอาหารเช้าต่อเนื่อง เพื่อความหลากหลายและไม่เบื่อหน่าย 4.4 การจัดจำหน่าย*:    - จัดทำอาหารและแจกจ่ายให้เด็กในช่วงเวลาเช้า ระหว่างการลงทะเบียนเข้าเรียน    - พิจารณาจัดให้มีพื้นที่สำหรับเด็กในการรับประทานอาหารอย่างสะดวก 5.5 การติดตามและประเมินผล*:    - ตรวจสอบและประเมินสุขภาพของเด็ก เช่น การประเมินน้ำหนัก ส่วนสูง และพลังภาพการเรียนรู้    – ใช้แบบสอบถามเพื่อรับฟังความเห็นจากเด็กและผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารเช้าผู้บริหารนิเทศติดตามการ 5.  ดำเนินงาน คอยอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามโครงการ 6.  ทำรายงานประเมินผลโครงการเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำดำ อาหารเทียง 60 × 15 = 900 บาท อาหารว่าง 35 × 15 = 525 บาท รวมเงินทั้งหมด  1,425  บาท - ค่าวิทยากร 600 บ. x 3 ชั่วโมง x 1 คน = 1,800 บ. - ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมอบรม 35 บ. X 80 คน X 1 มื้อ
= 2,800 บ. - ค่าอาหารว่างวิทยากรและผู้สังเกตการณ์ 35 บ. X 2 คน X 1 มื้อ   = 70 บ. - ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วมอบรม 60 บ. X 80 คน X 1 มื้อ   = 4,800 บ. - ค่าอาหารกลางวันวิทยากรและผู้สังเกตการณ์ 60 บ. X 2 คน X 1 มื้อ   = 120 บ. รวมเป็นเงินทั้งหมด  9,590  บาท ค่าวัตถุดิบอาหารในการทำอาหารเช้านักเรียน 61 คน  X คนละ 20 บาท X 20 วัน = 24,400 บาท รวมเป็นเงิน  24,400  บาท


รวม  35,415 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความตระหนักในโภชนาการ: ส่งเสริมความรู้ให้เด็กและผู้ปกครองเกี่ยวกับอาหารที่ดี 2)  เพื่อให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ มีคุณค่าและมีความปลอดภัย 3)  นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน 4) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี มีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 5) นักเรียนโรงเรียนศาลาฟี ทีเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง นักเรียน ผู้ปกครอง แม่ครัว ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องทุพโภชนาการหรืออาหารที่ดี ร้อยละ 90 นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร มีคุณค่าและมีความปลอดภัย ร้อยละ 100 นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูง  ตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90 นักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ร้อยละ 90 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง ร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
35415.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 35,415.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ตระหนักถึงโภชนาการที่ดี*: สร้างวินัยในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในอนาคต ร้อยละ 90
2.นักเรียนที่มีความเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางอาหาร ร้อยละ 100
3. นักเรียนมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90
4. นักเรียนมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ร้อยละ90
5. นักเรียนกลุ่มเสี่ยงทุพโภชนาการได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์และมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง ร้อยละ 90


>