โครงการ คนควนโดนรักษ์สุขภาพ รอบรู้ สู้โรคไม่ติดต่อ (KD Health Literacy : Together Fight NCDs)
แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน
1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการ คนควนโดนรักษ์สุขภาพ รอบรู้ สู้โรคไม่ติดต่อ (KD Health Literacy : Together Fight NCDs)ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดน
นางสาวลลิตา ยะฝา
ห้องประชุมโรงเรียน อสม. รพ.สต.ควนโดน
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |
---|---|---|
1 | กระทรวงสาธารณสุข เดินหน้าลดปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่ทำให้เกิดความสูญเสียต้นทุนทางเศรษฐกิจสูงถึงปีละ 1.6 ล้านล้านบาท รณรงค์ “คนไทยห่างไกล NCDs” ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า แ
|
80.00 |
2 | กระทรวงสาธารณสุขจึงมีนโยบายแก้ไขปัญหา โดยผลักดันการส่งเสริมสุขภาพและแนวคิดวิถีชีวิตเพื่อสุขภาพที่ดีไปสู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ ให้เอื้อในการต่อสู้กับโรค NCDs สนับสนุนแนวคิดสุขภาพดี สิทธิประโยชน์เพิ่ม รวมถึงส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤ
|
80.00 |
3 | การขับเคลื่อนนโยบายคนไทยห่างไกล NCDs ต้องอาศัยความร่วมแรงร่วมใจจากบุคลากรสาธารณสุข พี่น้อง อสม. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ช่วยสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) แก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทั้งการกินอาหารให้เหมาะสมกับการใช้พลังงาน
|
80.00 |
4 | จากสถานการณ์ดังกล่าว จะเห็นได้ว่า โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ยังเป็นโรคที่ส่งผลกระทบกับสุขภาพและภาวะเศรษฐกิจในอันดับต้นๆ ทางกระทรวงสาธารณสุขเห็นความสำคัญ และมีนโยบายต่างๆเพื่อรองรับการแก้ปัญหา ในทุกระดับของการดูแลสุขภาพของประชาชน จากผลการดำเนินงานด้านโรคไม่ติดต
|
80.00 |
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาด | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ สามารถดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อได้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ของแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ สามารถดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อ ให้ควบคุมโรคฯได้ (ทำแบบทดสอบหลังการอบรมผ่าน ร้อยละ 70) |
70.00 | 80.00 |
2 | 2. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ (DTX น้อยกว่า 126 mg.% และ BP ระหว่าง 90/60 mmHg. ถึง น้อยกว่า 140/90 mmHg. ) ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 60 ของกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ (DTX น้อยกว่า 126 mg.% และ BP ระหว่าง 90/60 mmHg. ถึง น้อยกว่า 140/90 mmHg. ) |
60.00 | 60.00 |
3 | 3. กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน มีค่าระดับน้ำตาลสะสมในเม็ดเลือดแดง (HbA1C) น้อยกว่า 6.5 หรือค่า DTXลดลง หรือน้อยกว่า 140 mg.% ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการฯ มีค่าระดับน้ำตาลสะสมในเม็ดเลือดแดง (HbA1C) น้อยกว่า 6.5 หรือค่า DTX ลดลง หรือน้อยกว่า 140 mg.% |
50.00 | 50.00 |
5. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) |
---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | |
กลุ่มวัยทำงาน | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม | |
1. แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว จำนวน 2 รุ่น ๆละ 50 คน | 100 |
2.กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยHT 50คน | 50 |
3.ผู้ป่วยโรคเบาหวานเข้าร่วม DM RemissionClinic50คน | 50 |
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/04/2025
กำหนดเสร็จ 31/07/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
กิจกรรมที่ 1 ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินกิจกรรมในโครงการ แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 2. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ 3. ประสานชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการฯ และติดต่อวิทยากร กิจกรรมที่ 1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัต
ชื่อกิจกรรม
ขั้นเตรียมการ 1. ประชุมเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางการดำเนินกิจกรรมในโครงการ แก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง 2. เขียนโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ 3. ประสานชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการฯ และติดต่อวิทยากร กิจกรรมที่ 1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัตรายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
1.1 ให้ความรู้เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ คืนข้อมูลโรคไม่ติดต่อในพื้นที่ การรับรู้ตนเอง สาธิตและทดลองปฏิบัติการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด การตรวจวัดความดันโลหิต การคำนวณ ค่าดัชนีมวลกาย การวัดรอบเอว พร้อมการแปลผลที่ถูกต้อง โดยการจับคู่ปฏิบัติ “บัดดี้ NCDs”
1.2 ให้ความรู้เรื่อง โลว์คาร์บไม่ใช่โลว์แคล และออกแบบการปรับเปลี่ยนสุขภาพของตนเอง
1.3 ให้ความรู้เรื่องการกำหนดการออกกำลังกาย เพื่อสุขภาพที่เหมาะสม
1.4 การเลือกเป้าหมายที่ชอบและเหมาะสมกับตัวเอง ในการดูแลสุขภาพ
1.5 ฝึกปฏิบัติงาน ใน ”ห้องเรียนชุมชน” ณ ศูนย์คนไทย ห่างไกล NCDs ตำบลควนโดน
(หลังการอบรม)
- ทำแบบทดสอบหลังการอบรม และสรุปผลการดำเนินงาน
1.กิจกรรมพัฒนาศักยภาพเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ แก่แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว “แกนนำรอบรู้ สู้โรคไม่ติดต่อ Together Fight NCDs” แบ่งเป็นฐานการเรียนรู้ จำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 50 คน รวม 100 คน
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชม. ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 คน ๆละ 2 รุ่น เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 บาท 1 มื้อ จำนวน 100 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 บาท 2 มื้อ จำนวน 100 คน เป็นเงิน 6,000 บาท
รวม 15,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
11 มิถุนายน 2568 ถึง 13 มิถุนายน 2568ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ สามารถดูแลกลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อได้
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15600.00กิจกรรมที่ 2 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ แก่กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 50 คน 1.1 ให้ความรู้เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ คืนข้อมูลโรคไม่ติดต่อในพื้นที่ การรับรู้
ชื่อกิจกรรม
2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ แก่กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 50 คน 1.1 ให้ความรู้เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ คืนข้อมูลโรคไม่ติดต่อในพื้นที่ การรับรู้รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ แก่กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 50 คน
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชม. ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 คน เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 บาท 1 มื้อ จำนวน 50 คน เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 บาท 2 มื้อ จำนวน 50 คน เป็นเงิน 3,000 บาท
รวม 7,800 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2568 ถึง 4 กรกฎาคม 2568ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิต ให้อยู่ในเกณฑ์ (DTX น้อยกว่า 126 mg.% และ BP ระหว่าง 90/60 mmHg. ถึง น้อยกว่า 140/90 mmHg. )
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7800.00กิจกรรมที่ 3 3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ แก่ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่เข้าร่วม DM Remission Clinic จำนวน 50 คน 1.1 ให้ความรู้เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ คืนข้อมูลโรคไม่ติดต่อในพื้นที่ การรับรู้ตนเอง สาธิต
ชื่อกิจกรรม
3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ แก่ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่เข้าร่วม DM Remission Clinic จำนวน 50 คน 1.1 ให้ความรู้เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ คืนข้อมูลโรคไม่ติดต่อในพื้นที่ การรับรู้ตนเอง สาธิตรายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
- กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ความรอบรู้ด้านสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ แก่ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่เข้าร่วม DM Remission Clinic จำนวน 50 คน
- ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชม. ๆ ละ 300 บาท จำนวน 2 คน เป็นเงิน 1,800 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 บาท 1 มื้อ จำนวน 50 คน เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 30 บาท 2 มื้อ จำนวน 50 คน เป็นเงิน 3,000 บาท
รวม 7,800 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
14 กรกฎาคม 2568 ถึง 18 กรกฎาคม 2568ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
- กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน มีค่าระดับน้ำตาลสะสมในเม็ดเลือดแดง (HbA1C) น้อยกว่า 6.5 หรือค่า DTXลดลง หรือน้อยกว่า 140 mg.%
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7800.00งบประมาณโครงการ
จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 31,200.00 บาท
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?