กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา รหัส กปท. L5275

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการบ้านสวยใส ใส่ใจคัดแยกขยะ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
เครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก(อถล.) หมู่ที่ ๗
กลุ่มคน
1.นางกมลรัตน์ สังขะกูลประธานกรรมการ
2.นางกันยา อนุสาร กรรมการ
3.นางประพาส พรหมแก้วกรรมการ
4.นางวะนิตย์ พลเดชกรรมการ
5.นางพันธิพาโยงราชกรรมการ
3.
หลักการและเหตุผล

ชุมชนพรุชบา หมู่ที่ 7 ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีครัวเรือนทั้งหมด 987 ครัวเรือน มีประชากรจำนวน 2,734 คน (อ้างอิง งานทะเบียนราษฎร์เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ณ เดือน เมษายน ๒๕๖๘) คาดการณ์ปริมาณขยะที่เกิดขึ้น ประมาณวันละ 3,๔๖0 กิโลกรัมต่อวัน(อัตราการเกิดขยะมูลฝอย ปี 2567 เท่ากับ 1.1๒ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน) (อ้างอิง รายงานสถานการณ์สถานที่กำจัดมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๖ : กรมควบคุมมลพิษกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) ประกอบกับชุมชนพรุชบาเป็นเส้นทางผ่านน้ำตกโตนงาช้างซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมแห่งหนึ่งของจังหวัดสงขลา โดยมีสถานประกอบการจำหน่ายอาหารและร้านค้าตลอดสองข้างทาง แม้ว่าเทศบาลได้มีการณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติกและภาชนะโฟมบรรจุอาหาร แต่ยังพบว่าประชาชนยังมีพฤติกรรมใช้และทิ้งถุงพลาสติกหรือภาชนะโฟมบรรจุอาหารในที่ทางสาธารณะทำให้ชุมชนพรุชบาไม่สะอาด ไม่เป็นระเบียบ และอาจเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์พาหะนำโรคในชุมชน เช่น หนู แมลงตอม ยุง เป็นต้น ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ เนื่องจากถุงพลาสติกและโฟมบรรจุอาหารมีระยะเวลาในการย่อยสลายเองตามธรรมชาติยาวนาน ทั้งนี้จากการที่ครัวเรือนขาดความตระหนักในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เทศบาลดำเนินการเก็บขนมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ทำให้มีขยะตกค้างในชุมชนหรือครัวเรือน
เครือข่ายอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) บ้านพรุชบา ซึ่งมีบทบาทและหน้าที่ในการเฝ้าระวัง สอดส่อง ดูแล รวมทั้งรายงานสถานการณ์การบริหารจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย การปกป้องและรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ จึงได้จัดทำ “โครงการบ้านสวยใส ใส่ใจคัดแยกขยะ” เพื่อรณรงค์การมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ในการคัดแยกขยะมูลฝอย เพื่อส่งเสริมการลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติกและโฟมบรรจุอาหาร เพื่อความสะอาดเป็นระเบียบของชุมชน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอย
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ผ่านเกณฑ์การประเมิน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : มี “ธรรมนูญหมู่บ้าน” ในการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยของชุมชน - ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมหรือมาตรการในการลดและคัดแยกขยะมูลฝอย
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1.ประชุมสมาชิกอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก จำนวน 2 ครั้ง
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมประชุม (25บาท25คน2ครั้ง)
    งบประมาณ 1,250.00 บาท
  • 2. 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยและการนำไปใช้ประโยชน์ของขยะมูลฝอยชุมชน
    รายละเอียด
    • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด 1.22.4 เมตร ตารางเมตรละ 150.-บาท จำนวน 1 ผืน เพื่อติดตั้ง ณ สถานที่จัดกิจกรรม เป็นเงิน 432.- -  ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร ผู้สังเกตการณ์และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง (25บาท2มื้อ*50คน) เป็นเงิน 2,500.-
    • ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร ผู้สังเกตการณ์และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง (60บาท50คน1มื้อ) เป็นเงิน 3,000.-
    • ค่าสมนาคุณวิทยากร (รายละเอียดตามกำหนดการอบรมที่แนบ) 
              ช่วงเช้า 3 ชั่วโมง600บาท เป็นเงิน 1,800.-         ช่วงบ่าย 3ชั่วโมง2 คน*600บาท เป็นเงิน 3,600.-
    • ค่าจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการอบรม เช่น สมุด ปากกา กระดาษบรู้ฟ ถุงมือ ถุงดำ ฯลฯ เป็นเงิน 672.-
    งบประมาณ 12,004.00 บาท
  • 3. 3.กิจกรรมรับฟังความคิดเห็นและกำหนดแนวทางลดปริมาณขยะมูลฝอยของชุมชนพรุชบา
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (25บาท100คน1มื้อ) เป็นเงิน 2,500.-
    • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์เวทีรับฟังความคิดเห็น ขนาด1.22.4เมตร ตารางเมตรละ 150.-บาท จำนวน 1 ผืน เพื่อติดตั้ง ณ สถานที่จัดกิจกรรม เป็นเงิน 432.- -  ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ข้อตกลงร่วมกันของชุมชนที่จะขับเคลื่อน ขนาด 24 เมตร ตารางเมตรละ 150.-บาท (พร้อมยิงโครง) จำนวน 3 ผืน ป้ายละ 1,665 บาทเพื่อติดตั้งในชุมชน จำนวน 3 ชุด เป็นเงิน 4,995
    • วัสดุอุปกรณ์ เช่น กระดาษบรู้ฟ ปากกา ฯลฯ เป็นเงิน 505.-
    งบประมาณ 8,432.00 บาท
  • 4. 4.กิจกรรมลงนามความร่วมมือ “สัญญาคนพรุชบาสะอาด...ลดและคัดแยกขยะ”
    รายละเอียด
    • ค่าน้ำดื่ม (4แพค*50บาท) เป็นเงิน 200.-
    • ค่าจัดซื้อกระดาษการ์ด สมุดลงนาม เป็นเงิน 1,000.-
    • ป้ายถือ/สื่อรณรงค์ลดและคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (150บาท*7ป้าย) เป็นเงิน 1,050.-
    • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์พิธีลงนาม ขนาด1.2*2.4เมตร ตารางเมตรละ 150.-บาท จำนวน 1 ผืน เพื่อติดตั้ง ณ สถานที่จัดกิจกรรม เป็นเงิน  432.-
    งบประมาณ 2,682.00 บาท
  • 5. 5.กิจกรรม “พกถุงผ้า พรุชบาสะอาด”
    รายละเอียด
    • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ ขนาด1.2*2.4เมตร ตารางเมตรละ 150.-บาท จำนวน 1 ผืน เพื่อติดตั้ง ณ สถานที่จัดกิจกรรม เป็นเงิน  432.-
    งบประมาณ 432.00 บาท
  • 6. 6. ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนินงาน
    รายละเอียด

    ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผลการดำเนินงาน เป็นเงิน 200.-

    งบประมาณ 200.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 26 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 25,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะมูลฝอยครัวเรือน 2.ประชาชนตระหนักและมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยครัวเรือน 3.ชุมชนสะอาดเป็นระเบียบ

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา รหัส กปท. L5275

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา รหัส กปท. L5275

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 25,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................