แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ รหัส กปท. L5282
อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. นายเสียนมูสิกชาติ ประธานคณะกรรมการโทร 0831648974
2. นายโสภณคมขำรองประธานคณะกรรมการ
3. นายสัมพันธ์มณีรัตน์ฝ่ายเหรัญญิก
4. นางกานดาอ่อนแก้วเลขานุการ
5. นางสาวยุวดีคงนวล ผู้ช่วยเลขานุการ
ผู้สูงอายุนับเป็นกลุ่มประชากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในสังคมไทยที่ทุกฝ่ายต้องให้ความสำคัญโดยข้อมูลปี พ.ศ.2565ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุ จำนวน 12.2 ล้านคนจากจำนวนประชากร 66 ล้านคน โดยคิดเป็นร้อยละ 18.3 ของประชากรรวม และคาดว่า ในปี พ.ศ. 2568ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์(Complete Aged Society) คือ มีประชากรอายุ60 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 20 ของประชากรทั้งหมดซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มักประสบปัญหาด้านสุขภาพ ทั้งร่างกายและจิตใจ รวมถึงการขาดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดความสุข ความมีคุณค่าในตนเอง และการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมอย่างเหมาะสม หากไม่ได้รับการดูแลหรือส่งเสริมอย่างเหมาะสม อาจส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุถดถอยลง เกิดภาวะพึ่งพิง และภาระต่อครอบครัวและชุมชนในระยะยาว ตำบลอุใดเจริญ มีประชากรทั้งหมด 8,863 คน พบว่ามีผู้สูงอายุจำนวน ผู้สูงอายุตำบลอุใดเจริญมีทั้งหมด1,203 คนมีจำนวนผู้สูงอายุติดบ้าน262 คน ผู้สูงอายุติดเตียงจำนวน 28คน และผู้พิการจำนวน 212 คน มีคณะกรรมการศพอส จำนวน 31 คน มี อสมจำนวน168 คนอพม. จำนวน78คน กลุ่มติดสังคม 701 คน(ข้อมูล: งานชุมชนและสวัสดิการสังคมสำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ) ตำบลอุใดเจริญเป็นชุมชนที่มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่จำนวนมาก การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นพลังของชุมชนได้อย่างยั่งยืนด้วยเหตุนี้ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลอุใดเจริญจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลอุใดเจริญ ภายใต้กิจกรรม “สุขกาย สุขใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง ลดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง ส่งเสริมสุขภาวะทางจิตใจ รวมถึงสร้างโอกาสให้ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน อันจะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืนสำหรับผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลอุใดเจริญต่อไป
-
1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ ด้วยกิจกรรมการออกกำลังกายและการตรวจสุขภาพตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในกิจกรรมของโครงการขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ผ่านกิจกรรมกลุ่มและสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีโอกาสแสดงศักยภาพ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
4. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง และภาวะพึ่งพิงในกลุ่มผู้สูงอายุตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. ประชุมคณะกรรมศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตฯรายละเอียดงบประมาณ 0.00 บาท
- 2. สำรวจ/คัดกรองเบื้องต้น/ค้นหา ผู้สูงอายุ ที่เข้าร่วมกิจกรรมรายละเอียดงบประมาณ 0.00 บาท
- 3. จัดกิจกรรม ภายใต้กิจกรรม สุขกาย สุขใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ วันแรก ตรวจสุขภาพ/อบรมส่งเสริมความรู้รายละเอียด
วันแรก ตรวจสุขภาพ/อบรมส่งเสริมความรู้ ช่วงเช้า -ลงทะเบียน/วัดความดันโลหิต วัดน้ำตาลในเลือด ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หาค่า BMI -บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการอ่านค่าความดันค่าน้ำตาลในเลือดค่า BMI
-สาธิตการใช้เครื่องวัดความดัน โลหิตเครื่องวัดค่าน้ำตาลในเลือดพร้อมประเมินแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q)
**(เพื่อให้คณะทำงานและผู้สูงอายุได้นำไปต่อยอดในกิจกรรมลงพื้นที่เพื่อนเยี่ยมเพื่อนของชมรมฯ) ช่วงบ่าย -บรรยายให้ความรู้ “เรื่องโภชนาการ” “เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง” “เรื่องท่าออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ “สาธิตท่าออกกำลังกาย”1 ค่าวิทยากร เป็นเงิน3,000 บาท
วิทยากรบรรยายให้ความรู้ จำนวน1 คน3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บ.1,800
วิทยากรสนับสนุนกิจกรรมสาธิตชั่วโมง ๆ ละ 300 บ. 2 ชั่วโมง จำนวน2 คน1,200 บาท
2.ค่าถ่ายเอกสารสมุดบันทึกประจำตัวผู้สูงอายุจำนวน40ชุด ชุดละ 25 บ.เป็นเงิน1,000บาท
3.ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มจำนวน 60 คน คนละ 70 บาทเป็นเงิน4,200 บาท
4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 ชุด 2 มื้อ มื้อละ 35 บ. เป็นเงิน 4,200บาท
5.ค่าเครื่องวัดความดัน เป็นเงิน2,000 บาท
6.ค่าเครื่องตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด 1 เครื่อง เป็นเงิน 2,000บาท
7.อุปกรณ์เข็มเจาะและแผ่นตรวจเลือด 40 ชุดเป็นเงิน1,240 บ.
8.ค่าป้ายไวนิล จำนวน 1 ป้ายขนาด1.2 * 2.5 เป็นเงิน450 บาท
9.ค่าเครื่องชั่งน้ำหนัก เป็นเงิน 1,000 บาท
10.วัสดุอุปกรณ์จำเป็นอื่น ๆเช่นแฟ้มใส่เอกสารปากกา สมุด ฯลฯเป็นเงิน710 บ.
3.จัดกิจกรรม ภายใต้กิจกรรมสุขกาย สุขใจ ใส่ใจผู้สูงอายุ
วันที่สองสุขใจ เติมพลังชีวิต
-ลงทะเบียน
-บรรยายให้ความรู้ -บรรยายเรื่อง “สุขภาพจิตผู้สูงอายุ: เครียดอย่างไรให้เป็นสุข”
-แปรผลแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2Q
ช่วงบ่าย
-เวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ผู้สูงอายุ: “สุขภาพดีไม่มีอายุ”“ชีวิตผู้สูงอายุอย่างมีคุณค่า”
-กิจกรรมออกกำลังกายดนตรีกลองยาวบำบัด
-ประเมินผลโครงการ/แบบสอบถามความพึงพอใจ
1 ค่าวิทยากร เป็นเงิน1,800 บาท - วิทยากรบรรยายให้ความรู้ จำนวน1 คน3ชั่วโมงๆ ละ 600 บ.
2.ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่มจำนวน 60 คน คนละ 70 บาทเป็นเงิน4,200 บาท
3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 ชุด 2 มื้อ มื้อละ 35 บ.เป็นเงิน 4,200บาท
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 23 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ตำบลอุใดเจริญ
รวมงบประมาณโครงการ 30,000.00 บาท
1 ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีขึ้น 2 เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้สูงอายุในชุมชน 3 ลดภาวะเจ็บป่วยเรื้อรังและความเสี่ยงจากการพึ่งพิง 4 ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ รหัส กปท. L5282
อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ รหัส กปท. L5282
อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................