กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเสริมสร้างพลังใจ เพิ่มพลังชีวิตให้เยาวชนและชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา

กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อประเมินคัดกรองความเครียดทางกายและจิตใจ รวมถึงประเมินความเสี่ยงของสุขภาพหลอดเลือด 2.เพื่อเป็นเครื่องมือเสริมแรงจูงใจ สร้างความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพกายใจ และการจัดการความเครียด 3.เพื่อเป็นดัชนีชี้วัดเพื่อติดตามผลกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การให้คำปรึกษา การบำบัดและการจัดการสุขภาพ ด้วยวิธีการต่างๆ 4.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเข้ารับกระบวนการรักษา

1.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองระดับความเครียดและสุขภาพหลอดเลือด 2.ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการและกลุ่มเป้าหมาย      มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการความเครียด 3.ร้อยละ 95 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมโครงการ 4.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการที่พบความผิดปกติ ได้รับการส่งต่อเข้ารับกระบวนการรักษา

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 39
กลุ่มวัยทำงาน 134
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพจิต สร้างต้นแบบท้องถิ่น ขับเคลื่อนปัญหาสุขภาพจิตประชาชนแบบ เชิงรุก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพจิต สร้างต้นแบบท้องถิ่น ขับเคลื่อนปัญหาสุขภาพจิตประชาชนแบบ เชิงรุก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพจิต สร้างต้นแบบท้องถิ่น ขับเคลื่อนปัญหาสุขภาพจิตประชาชนแบบ เชิงรุก กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 173 คน โดยแบ่งเป็น 2 รุ่น ดังนี้ รุ่นที่ 1 ประกอบด้วย -    ผู้นำชุมชน จำนวน 44 ชุมชน ๆ ละ 1 คน -    อสม. จำนวน 44 ชุมชน ๆ ละ 1 คน   รวมเป็น 88 คน   รุ่นที่ 2 ประกอบด้วย -    คุณครูมัธยมศึกษาประจำสายชั้น ชั้นปีที่ 1-6 จำนวน 7 โรงเรียน จำนวน 39 คน   (โรงเรียนคณะราษฎรบำรุงจังหวัดยะลา, โรงเรียนสตรียะลา, โรงเรียนธรรมวิทยามูลนิธิ ยะลา,   โรงเรียนพัฒนาวิทยา, โรงเรียนสตรีอิสลามวิทยามูลนิธิ ยะลา, โรงเรียนเทศบาล 2 และโรงเรียนเทศบาล 5) -    ครูที่ปรึกษา จำนวน 7 โรงเรียน จำนวน 7 คน -    แกนนำนักเรียน จำนวน 7 โรงเรียน จำนวน 39 คน รวมเป็น 85 คน รวมกลุ่มเป้าหมายทั้งโครงการ จำนวน 173 คน

ระยะเวลาดำเนินงาน
14 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
110030.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมที่ 2 -  แกนนำชุมชน แกนนำ อสม. ประเมินคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้ 8Q ในการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย ตามทฤษฎีกรมสุขภาพจิต เพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
-  แกนนำคุณครู และแกนนำนักเรียน ประเมินคัดกรองโดยใช้โปรแกรม School Health Hero -  ในกลุ่มที่พบว่า มีผลการตรวจที่มีระดับความเครียดผิดปกติ พยาบาลผู้รับผิดชอบตรวจคัดกรองซ้ำอีกครั้ง     โดยใช้เครื่อง Smart Pulse  หากผลการตรวจมีผลการตรวจระดับความเครียดหรือมีภาวะหลอดเลือดที่ผิดปกติ พยาบาลรวบรวมรายชื่อส่งพบนักจิต เพื่อเข้ากระบวนการรักษาตามแผนการรักษาของแพทย์

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 110,030.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับประเมินคัดกรองความเครียดทางกายและจิตใจ รวมถึงประเมินความเสี่ยงของสุขภาพหลอดเลือด
2.ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถนำความรู้ ความเข้าใจ มาปรับใช้ในการจัดการความเครียดในชีวิตประจำวัน และส่งเสริมให้
ผู้เข้าร่วมอบรม มีสุขภาพกายและใจที่ดี


>