กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอาหารที่ดีปลอดภัยเพื่อหนูน้อยปฐมวัย ศพด.บาโงสนิง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ครอบครัวอบอุ่น คือครอบครัวที่สมบูรณ์แบบ การ มีครอบครัวที่อบอุ่นทำให้เราดำเนินชีวิตได้อย่างปกติสุข คนที่มีครอบครัวอบอุ่นย่อมมีความได้เปรียบ เพราะสามารถ ทำหน้าที่ได้เหมาะสม และทำให้สมาชิกในครอบครัวมีสุขภาพจิตดีไปด้วย ความผูกพัน : ตัวแปรความอบอุ่นในครอบครัว
ครอบครัวจะมีแรงผลักดันอยู่ ๒ แรงที่ต่อสู้กันอยู่เสมอคือ แรงที่ดึงสมาชิกให้เข้าหากัน เป็นอันหนึ่งอันเดียว กัน ทั้งความคิด ความรู้สึก การกระทำ และแรงผลักดันที่ทำให้สมาชิกอยู่ห่างออกจากกัน เพื่อใช้ชีวิตอย่างอิสระและเป็นตัวของตัวเองแรงผลักดันทั้ง ๒ จะสมดุลกันในครอบครัวที่อบอุ่น แม้บางครั้งแรงผลักดันแบบหนึ่งอาจมากกว่าอีกแบบหนึ่ง แต่ก็จะเป็นอยู่ชั่วคราว และจะกลับคืนสู่สภาวะสมดุลในที่สุด หากต้องการมีครอบครัวที่อบอุ่น สมาชิกแต่ละคนในครอบครัวจะต้องมีบทบาทความเป็นผู้นำในวาระที่แตกต่างกันออกไป เช่น แม่จะเป็นผู้นำและเป็น ผู้ตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลครอบครัวและการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่น เรื่องอาหารการกินในบ้าน ส่วนพ่อจะเป็นผู้นำในเรื่องที่สำคัญ เช่น เรื่องภายนอกบ้าน และสมาชิก ในบ้านควรมีส่วนในการสนับสนุนความคิดของผู้นำในครอบครัว
(บทความเรื่อง สร้างครอบครัวอบอุ่น ของมูลนิธิหมอชาวบ้าน)
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิงจึงได้จัดทำโครงการอาหารที่ดีปลอดภัยเพื่อหนูน้อยปฐมวัย ขึ้นเพื่อให้เด็กปฐมและผู้ปกครองมีความตระหนักรู้ด้านการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เด็กปฐมวัยสามารถปรับการรับประทานอาหาร งดอาหารที่มีรสหวาน เค็ม มันขนมขบเคี้ยว และน้ำอัดลมฝึกให้นักเรียนดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องโรงเรียนบ้านทุ่งหลวงจึงได้เข้าร่วมโครงการเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการเพื่อน้อมนำแนวทางการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ ในการพัฒนาโรงเรียน เด็กนักเรียน มีภาวะโภชนาการดี สุขภาพแข็งแรงได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นและคุณลักษณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อการแก้ไขปัญหาหารขาดสารอาหารและการพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพ

แก้ไขปัญหาหารขาดสารอาหารและการพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพ

50.00
2 เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

50.00
3 เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

50.00

๑. เพื่อการแก้ไขปัญหาหารขาดสารอาหารและการพัฒนาภาวะโภชนาการและสุขภาพ
๒.เพื่อส่งเสริมการสร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
3.. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ
4. เพื่อสร้างเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านการพัฒนาอนามัย และส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริการอาหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนาการ

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 66
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2018

กำหนดเสร็จ 31/07/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ จำนวน  7,350  บาทรายละเอียดในการจัดกิจกรรมดังนี้       - ค่าอาหารกลางวัน 66 คน X 50  บาท         เป็นเงิน  3,300.-  บาท                 - ค่าอาหารว่าง  66คน X 25 บาท X 2 มื้อ     เป็นเงิน  3,300.-  บาท                 - ค่าป้ายไวนิลโครงการ(ขนาดกว้าง1 ม.Xยาว2.50ม.) จำนวน1ป้าย เป็นเงิน  750 บาท จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ จำนวน  7,350  บาทรายละเอียดในการจัดกิจกรรมดังนี้       - ค่าอาหารกลางวัน 66 คน X 50  บาท         เป็นเงิน  3,300.-  บาท                 - ค่าอาหารว่าง  66คน X 25 บาท X 2 มื้อ     เป็นเงิน  3,300.-  บาท                 - ค่าป้ายไวนิลโครงการ(ขนาดกว้าง1 ม.Xยาว2.50ม.) จำนวน1ป้าย เป็นเงิน  750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมการบริโภคผักผลไม้มากขึ้นรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการลดการรับประทานอาหาร  หวาน เค็ม มันและงดการดื่มน้ำอัดลม         2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ         3. เด็กปฐมวัย และผู้ปกครองมีการส่งเสริมสุขภาพอนามัย และส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริการอาหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนาการ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 7,350.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กปฐมวัยมีพฤติกรรมการบริโภคผักผลไม้มากขึ้นรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการลดการรับประทานอาหารหวาน เค็ม มันและงดการดื่มน้ำอัดลม
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาพฤติกรรมในการบริโภคอาหารปลอดภัยและถูกหลักโภชนาการ
3. เด็กปฐมวัย และผู้ปกครองมีการส่งเสริมสุขภาพอนามัย และส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมด้านการบริการอาหารถูกต้องปลอดภัยตามหลักโภชนาการ


>