กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลริมปิง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

สร้างระบบเฝ้าระวังความมั่นคงทางด้านอาหารแบบบูรณาการ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลริมปิง

กลุ่มแม่บ้านตำบลริมปิง

1.นางวิไล ถาปิงยศ 2.นางเกษรา ปิงชัย 3. นางบัวถา โปธา 4.นางคนึงนิต ถาปิงยศ 5. นางสมศรี กันธิยะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ผลการตรวจเลือดเกษตรกรมีสารเคมีตกค้างในเลือด (ร้อยละ)

 

51.00
2 สัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน (ร้อยละ)

 

20.00
3 ผลการตรวจสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร (ร้อยละ)

 

5.00
4 จำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ (ร้อยละ)

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

จำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ

80.00 30.00
2 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ผลการตรวจเลือดเกษตรกรมีสารเคมีตกค้างในเลือด

51.00 45.00
3 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ผลการตรวจสารปนเปื้อน 6 ชนิดที่ตกค้างในอาหาร

5.00 3.00
4 เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

สัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน

20.00 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2018

กำหนดเสร็จ 30/07/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 พัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้กับแกนนำองค์กรในชุมชน ในด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ ภายใต้แนวคิด “ตู้เย็นหลังบ้าน สร้างสุขภาวะในชุมชน”

ชื่อกิจกรรม
พัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้กับแกนนำองค์กรในชุมชน ในด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ ภายใต้แนวคิด “ตู้เย็นหลังบ้าน สร้างสุขภาวะในชุมชน”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้ในด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ ภายใต้แนวคิด “ตู้เย็นหลังบ้าน สร้างสุขภาวะในชุมชน”

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แกนนำองค์กรในชุมชนได้รับการพัฒนาทักษะส่วนบุคคลในด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ ภายใต้แนวคิด “ตู้เย็นหลังบ้าน สร้างสุขภาวะในชุมชน” จนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10700.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมส่งเสริมการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์มาใช้ในระบบอาหารของครัวเรือน ชุมชน ภายใต้แนวคิด “ตู้เย็นหลังบ้าน สร้างสุขภาวะในชุมชน”

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมส่งเสริมการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์มาใช้ในระบบอาหารของครัวเรือน ชุมชน ภายใต้แนวคิด “ตู้เย็นหลังบ้าน สร้างสุขภาวะในชุมชน”
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามหนุนรณรงค์ประชาสัมพันธ์หนุนเสริมการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์มาใช้ในระบบอาหารของครัวเรือน ชุมชน ภายใต้แนวคิด “ตู้เย็นหลังบ้าน สร้างสุขภาวะในชุมชน”

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แกนนำองค์กรในชุมชนและคนในชุมชนมีความตื่นตัวในการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรอินทรีย์มาใช้ในระบบอาหารของครัวเรือน ชุมชน ภายใต้แนวคิด “ตู้เย็นหลังบ้าน สร้างสุขภาวะในชุมชน”

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมสร้างกลไกการเฝ้าระวังเรื่องการจัดการอาหารในชุมชน /ตลาดสีเขียว

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมสร้างกลไกการเฝ้าระวังเรื่องการจัดการอาหารในชุมชน /ตลาดสีเขียว
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

สื่อสารกับชุมชนเพื่อสร้างกลไกการเฝ้าระวังเรื่องการจัดการอาหารในชุมชน /ตลาดสีเขียว

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีกลไกการเฝ้าระวังเรื่องการจัดการอาหารในชุมชนและเปิดพื้นที่ตลาดสีเขียวในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

กิจกรรมที่ 4 พัฒนานโยบายสาธารณะด้านอาหารในชุมชน

ชื่อกิจกรรม
พัฒนานโยบายสาธารณะด้านอาหารในชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดเวทีถอดบทเรียนเพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะด้านอาหารในชุมชน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะด้านอาหารในชุมชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10100.00

กิจกรรมที่ 5 ติดตามประเมินผล สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
ติดตามประเมินผล สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามประเมินผล สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้รูปเล่มสรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 23,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. มีระบบเฝ้าระวังความมั่นคงทางด้านอาหารแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในชุมชน
๒. แกนนำองค์กรในชุมชนได้รับการพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้กับในด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
3. มีแหล่งผลิตอาหารสุขภาพการมีอาหารคุณภาพ ปลอดภัย และการใช้ประโยชน์ทางด้านอาหารและโภชนาการเพื่อสุขภาพ
4. มีการพัฒนานโยบายสาธารณะด้านอาหารในชุมชน สู่ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพตำบลริมปิง


>