กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางลาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายใน หมู่ 6 บ้านประดาทอง ตำบลบางลาย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางลาย

ชมรม อสม. หมู่ 6 บ้านประดาทอง ตำบลบางลาย

1. นางวันเพ็ญ ชุ่มชื่น
2. นางสาวสิริลักษณ์งามสม
3. นางประมวล เงินคล
4. นางสาววรวรรณ ชุ่มชื่น
5. นางถนอม ชุ่มชื่น

หมู่ 6 บ้านประดาทอง ตำบลบางลาย

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ประชาชนมีดัชนีมวลกายเกิน 25 จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 39.19

 

39.19

สถานการณ์โรคอ้วนที่กำลังทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นนี้ มีที่มาที่ไปจากหลายสาเหตุด้วยกัน ทั้งปัจจัยในระดับปัจเจกบุคคล และปัจจัยสิ่งแวดล้อมเชิงโครงสร้างทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ด้วยวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ลักษณะการทำงานที่ใช้แรงงานน้อยลง รวมถึงการเดินทางคมนาคมติดต่อสื่อสารที่สะดวกสบายกว่าแต่ก่อน ทำให้มีการเคลื่อนไหวร่างกายและมีกิจกรรมทางกายที่ลดลง ใช้เวลาในแต่ละวันไปกับหน้าจอคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์หรือโทรศัพท์ ซึ่งมีการเคลื่อนไหวค่อนข้างน้อยเป็นส่วนใหญ่ในแต่ละวัน หากไม่นับเวลานอน (ประมาณ 8.4 ชั่วโมง) โดยเฉลี่ยคนไทยใช้เวลากับการทำกิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยมากถึง 13.3 ชั่วโมง นอกจากนี้ การสำรวจในปี 2559 พบว่าชายไทยและหญิงไทยที่มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ เพียงร้อยละ 71.7 และ 62.4 ตามลำดับ
ในการสำรวจสุขภาพโดยใช้แบบสำรวจพฤติกรรมสุขภาพ 3อ3สพ.ศ.2560 ของประชากรอำเภอบึงนาราง จังหวัดพิจิตรพบว่า มีประชากรอ้วน(ภาวะดัชนีมวลกายเกิน 25)ร้อยละ38.7โดยพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย คือ เพศหญิงอ้วนลงพุงร้อยละ 52 เพศชาย ร้อยละ 22ตำบลบางลายมีประชากรที่มีภาวะดัชนีมวลกายเกิน 25 ถึงร้อยละ 15.30ในส่วนของหมู่ 6บ้านประดาทอง ตำบลบางลาย พบว่า มีประชากรที่มีภาวะดัชนีมวลกายเกิน 25 ถึงร้อยละ 39.19 ซึ่งภาวะดัชนีมวลกายเกินส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพต่างๆตามมาได้แก่โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและขาดเลือดและโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตจากการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาล้วนสอดคล้องกับข้อมูลทางสถิติของประเทศไทย กล่าวคือประชากรตำบลบางลายมีการเคลื่อนไหวร่างกายและมีกิจกรรมทางกายน้อยลง ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา
ชมรมอสม. ม.6บ้านประดาทอง ตำบลบางลาย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการออกกำลังกายใน ม.6 บ้านประดาทองเพื่อให้กลุ่มประชาชนที่มีภาวะBMIเกินเข้าร่วมกิจกรรมรวมกลุ่มออกกำลังกายโดยการขี่จักรยานอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 วันและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนที่มีภาวะดัชนีมวลกายเกิน 25 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่มีภาวะดัชนีมวลกายเกิน 25 สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (จำนวน 27 คน)

30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมปั่นจักรยานภายในหมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมปั่นจักรยานภายในหมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมออกกำลังกาย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง จำนวน 30 คน คนละ 25 บาท จำนวน 22 สัปดาห์

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนอย่างน้อย27 คน คิดเป็นร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16500.00

กิจกรรมที่ 2 ประเมินสมรรถนะทางกาย

ชื่อกิจกรรม
ประเมินสมรรถนะทางกาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประเมินผล สมรรถนะทางกายโดยวัด BMI ก่อนและหลังดำเนินการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้ข้าร่วมกิจกรรมทราบผลการประเมินก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 16,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.กลุ่มประชาชนที่มีภาวะBMIเกิน เข้าร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90


>