กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการหมู่บ้านจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ (งานวัณโรคปอด) บ้านแดงหม้อหมู่ที่ 1 ตำบลแดงหม้อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปีงบประมาณ 2561

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แดงหม้อ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหมู่บ้านจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ (งานวัณโรคปอด) บ้านแดงหม้อหมู่ที่ 1 ตำบลแดงหม้อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปีงบประมาณ 2561

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แดงหม้อ

ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคประจำหมู่บ้าน บ้านแดงหม้อ หมู่ที่ 1ตำบลแดงหม้อ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

บ้านแดงหม้อหมู่ที่ 1 ตำบลแดงหม้ออำเภอเขื่องในจังหวัดอุบลราชธานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนผู้ป่วยโรควัณโรคปอดเพิ่มขึ้น ตั้งแต่ปี 2556-2560 จำนวน 5 ราย ร้อยละ 0.27

 

20.00

วัณโรคเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียหายทางสังคมและเศรษฐกิจในอดีตอุบัติการณ์ของวัณโรคเคยลดลงอย่างช้า ๆ แต่ในระยะหลังนี้กลับเพิ่มขึ้นเนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์และการดื้อยาดังนั้นกระทรวงสาธารณสุขจึงให้วามสำคัญแก่แผนงานวัณโรคแห่งชาติในอันที่จะพัฒนายุทธศาสตร์ที่สำคัญในการควบคุมวัณโรคโดยการดำเนินงานควบคุมวัณโรคในระยะแรกได้เน้นไปที่การตรวจรักษาและการป้องกันโรค จากการทบทวนแผนงานวัณโรคแห่งชาติโดยคณะผู้เชี่ยวชาญวัณโรคจากองค์การอนามัยโลกมีข้อเสนอแนะที่ต้องเร่งรัดการดำเนินงานวัณโรค เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอัตราการรักษาหายและกินยาครบหรือที่เรียกว่าอัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรค (Treatment success rate) มากกว่าร้อยละ 90 แนวทางการรักษาที่เป็นที่ยอมรับทั่วโลก คือ การรักษาผู้ป่วยวัณโรค โดยมีพี่เลี้ยงคอยกำกับการกินยา ต่อหน้า
ทุกวัน ที่เรียกว่า DOTS ( Directly Observed Treatment System) ซึ่งองค์การอนามัยโลก(WHO) ได้ให้เสนอแนะให้ทุกประเทศทั่วโลก ใช้แนวทางการรักษาเพื่อเพิ่มอัตราความสำเร็จ ในการรักษาวัณโรคโดยพี่เลี้ยงหมายถึงเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อสม.หรือบุคคลในครอบครัวเพื่อคอยดูแลผู้ป่วยวัณโรคให้กินยาทุกวัน ให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยได้กินยาจนกระทั่งหายขาด ไม่เกิดปัญหาดื้อยาวัณโรคและการแพร่เชื้อวัณโรคในชุมชนต่อไป
จำนวนผู้ป่วยของบ้านแดงหม้อหมู่ที่ 1 ตั้งแต่ปี 2556-2560 ทั้งหมด 5 รายอัตราการรักษาหาย 3 ราย กำลังรักษา 2 ราย เกิดขึ้นมากในช่วงปี 2560 ที่ผ่านมาดังนั้นศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคประจำหมู่บ้าน บ้านแดงหม้อ หมู่ที่ 1 ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญปัญหาสาธารณสุขของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ (งานวัณโรคปอด) บ้านแดงหม้อหมู่ที่ 1 ขึ้นอีกในปี 2561เพื่อสร้างความตระหนักในระดับชุมชนและร่วมกันส่งเสริมป้องกันปัญหาของวัณโรคให้ลดน้อยลงต่อไป ต่อไปซึ่งสอดคล้อง กับกลุ่มเป้าหมายหลักดังนี้
ข้อ 7. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
7.1 พฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพ
7.2 การบริโภค
7.2.4 การส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องและปลอดภัยแก่ประชาชน
7.4 สิ่งแวดล้อม
7.4.10 การสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชน
7.4.11 การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน
7.4.12 การส่งเสริมการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในโรงเรียน ในสถานประกอบการ และในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรควัณโรคได้รับความรู้เรื่องโรควัณโรคที่ถูกต้อง (ข้อ 7.1, ข้อ 7.2.4)

ประชาชนได้รับความรู้เรื่องโรควัณโรคจากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านงานวัณโรค

80.00
2 1.2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรควัณโรคได้รับการคัดกรองวัณโรคเบื้องต้น (ข้อ 7.4.10)

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรคปอด มากกว่า ร้อยละ 90

90.00
3 1.3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรควัณโรคสามารถป้องกันตนเองได้ (ข้อ 7.1.11,ข้อ 7.1.12)
  • ประชาชนที่เป็นผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการขึ้นทะเบียน ร้อยละ 100
  • อัตราสำเร็จการรักษาหายขาดของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ร้อยละ 100
100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 116
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 19/01/2018

กำหนดเสร็จ 31/08/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. จัดประชุมชี้แจงประชาชนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) 16 คน

ชื่อกิจกรรม
1. จัดประชุมชี้แจงประชาชนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) 16 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดประชุมชี้แจงประชาชนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)  16 คน          เป็นเงิน     320 บาท ค่าอาหาร

- ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มเช้าอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
16 คน*20 บาท 1 มื้อ                                    เป็นเงิน      320 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนได้รับความรู้เรื่องโรควัณโรคจากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านงานวัณโรค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
320.00

กิจกรรมที่ 2 2. จัดกิจกรรมอบรมตามหลักสูตร จำนวน 116 คน

ชื่อกิจกรรม
2. จัดกิจกรรมอบรมตามหลักสูตร จำนวน 116 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดกิจกรรมอบรมตามหลักสูตร  จำนวน 116 คน                        เป็นเงิน  13,000 บาท ค่าวิทยากร 2 คนๆละ 1 วัน ๆ ละ 500/คน/วัน                    เป็นเงิน   1,000 บาท ค่าวัสดุ

-  ป้ายโครงการ ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 4 เมตร จำนวน 1 ป้าย       เป็นเงิน    400 บาท ค่าอาหาร -  ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มเช้า  116 คนๆ ละ 20 บาท/2มื้อ/คน (202116)
เป็นเงิน 4,640 บาท -  ค่าอาหารกลางวัน 116 คน 1 ครั้งๆละ 60 บาท            เป็นเงิน 6,960 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนได้รับความรู้เรื่องโรควัณโรคจากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านงานวัณโรค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13000.00

กิจกรรมที่ 3 3. ค้นหาและตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงทั้งในสถานบริการและชุมชน

ชื่อกิจกรรม
3. ค้นหาและตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงทั้งในสถานบริการและชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค้นหาและตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงทั้งในสถานบริการและชุมชน ค่าวัสดุ เป็นเงิน340 บาท กระดาษ AA2 รีม240บาท ดินสอ 2B จำนวน 4 กล่องๆละ 25 บาท 100บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรคปอด มากกว่า ร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
340.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,660.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.1 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรควัณโรคได้รับความรู้เรื่องโรควัณโรคที่ถูกต้อง (ข้อ 7.1, ข้อ 7.2.4)
1.2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรควัณโรคได้รับการคัดกรองวัณโรคเบื้องต้น(ข้อ 7.4.10)
1.3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรควัณโรคสามารถป้องกันตนเองได้ (ข้อ 7.1.11,ข้อ 7.1.12)


>