กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดีด้วยการออกกำลังกายประกอบเพลง(ต่อเนื่องจากปี 60)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุง

ชมรมผู้สูงอายุตำบลตะลุง

นายสุทัศน์ ธีระวัฒน์ประธานชมรมผู้สูงอายุ

ลานออกกำลังกายบริเวณหน้าศูนย์เรียนรู้พระพุทธวรญาณ วัดยาง ณ รังสี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

70.00
2 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

60.00

ด้วยชมรมผู้สูงอายุตำบละลุงเห็นความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพและอยากเห็นผู้สูงอายุเป็นหลักชัยของครอบครัว ช่ยเหลือตนเองและสังคมได้ และจากการประชุมชมรมผู้สูงอายุพบปัญหาว่าส่วนใหญ่ไม่มีเวลา มองข้ามการออกกำลังกาย ปี 2560 จึงได้รณรงค์สร้างกระแสออกกำลังกายขึ้น พบว่ามีผู้สูงอายุให้ความสนใจและเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น แม้จะไม่ได้รับงบประมาณจาก อบต.ตะลุงในปี 2561 ชมรมผู้สูงอายุตระหนักถึงการดูแลสุขภาพจึงได้นัดหมายรวมตัวออกกำลังกายเพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและสมำ่เสมอ สู้สุขภาพดีไม่มีขาย อยากได้ต้องร่วมสร้าง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

70.00 75.00
2 เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

60.00 70.00

1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและบุคคลทั่วไปมีสุขภาพแข็งแรงรักการออกกำลังกาย
2. เพื่อเป็นการลดภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
เพื่อส่งเสริมความสามัคคีแก่หมู่คณะไม่เครียดมีเพื่อน ไม่เหงา หรือซึมเศร้า

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ออกกำลังกายประกอบเพลง (ต่อเนื่องจากปี60)

ชื่อกิจกรรม
ออกกำลังกายประกอบเพลง (ต่อเนื่องจากปี60)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชาสัมพันธ์โดยติดประกาศเชิญชวนมาออกกำลังกายประกอบเพลง
  2. ดำเนินการออกกำลังกาย ประกอบเพลงและหมุนเวียนรูปแบบการออกกำลังกาย เช่น แอโรบิค /รำไม้พลอง/ไทเก๊ก
  3. มีการตรวจสุขภาพโดยเชิญ จนท.รพ.สต.มาให้บริการ 4.ประเมินผล โดยเปิดวงคุย เล่าสู่กันฟัง
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายและลดภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วย มีส่วนร่วมใช้พื้นที่สาธารณะให้เกิดกาสร้างเสริมสุขภาพ เกิดความรักและสามัคคีกัน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>