กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

การนวดบำบัดการเจ็บปวดด้วยตนเองและการใช้สมุนไพร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา

1.นางสาวเจะเส๊าะดอเล๊าะ
2.นางสาวมารีย๊ะเฮงปิยา
3.นางสาวซากียะดือราแม
4.นางสาวรุสมาวาตีกะจิ
5.นางเจะมีเนาะเจะมะ

หมู่ที่ 2 ตำบลบางตาวา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การนวดเป็นภูมิปัญญาของคนไทยเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ในการดูแลรักษาสุขภาพของชนชาติไทย ซึ่งการนวดไทยเป็นที่สืบทอดมาช้านานแล้ว เป็นท่าที่ล้ำค่าของคนไทยที่สั่งสมสืบทอดมาแต่โบราณ คนไทยได้เรียนรู้วิธีการช่วยเหลือกันเอง เมื่อมีอาการ ปวดเมื่อย เจ็บป่วย รู้จักการผ่อนคลายกล้ามเนื้อในท่าทางต่างๆ หรือ ให้ผู้อื่นนวดให้ ด้วยการบีบ นวด ยืด เหยียด ดัดดึงตนเอง หรือรู้ไว้เพื่อช่วยเหลือผู้อื่น การนวดนั้นเป็น ศิลปะของการสัมผัสที่สร้างความรู้สึกอบอุ่นผ่อนคลายความเมื่อยล้า ทำให้เรารู้สึกสดชื่น ทั้งร่างกายและจิตใจ การนวดตนเอง และ การปรับสมดุลร่างกายด้วยศาสตร์มณีเวชเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ที่มีการพัฒนาการมาเป็นลำดับ และได้ถ่ายทอด ความรู้จาก คนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง จนกระทั่งมีหลักในการปฏิบัติ และ วิธีการที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อความปลอดภัยต่อสุขภาพของทุกคน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1.เพื่อส่งเสริมการนวดและดูแลสุขภาพด้วยตนเองมีความรู้ เกี่ยวกับ ภูมิปัญญาในการดูแลสุขภาพ
2.เพื่อลดการใช้สารเคมีจากยาแผนปัจจุบันและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาสุขภาพโดยไม่จำเป็น
3.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม ได้อนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาการนวดไทย

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การปรับสมดุลร่างกายด้วยศาสตร์มณีเวช

ชื่อกิจกรรม
การปรับสมดุลร่างกายด้วยศาสตร์มณีเวช
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท x 80 คน =4000บาท ค่าอาหารว่าง 2 มื้อๆละ 25 บาท x 80 คน = 4000 บาท ค่าสมุนไพร 2000 บาท ค่าเอกสารประกอบการอบรม 30 บาท x 80 คน = 2400 บาท
ค่าวิทยากร1200 บาท ค่าไวนิล1200บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14800.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,800.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเบื้องต้น
2.ผู้เข้ารับการอบรม ลดการใช้ยาปฏิชีวนะลง ลดผลข้างเคียงของยาต่างๆ
3.ผู้เข้ารับการอบรม มีสุขภาพดี สมบูรณ์ แข็งแรง มีสมาธิ และ หายจากอาการของโรคต่างๆ
4.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถพึ่งตนเองได้


>