กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหา โรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ

เลขานุการกองทุนฯ

ในเขตเทศบาลฯ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

 

90.00

การเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์การเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เช่นอัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ภัยแล้งโรคระบาดในมนุษย์ รวมทั้งโรคที่เกิดจากเชื้ออุบัติใหม่(โรคติดต่อที่เคยยับยั้งได้แล้วกลับมาระบาดใหม่อีกครั้งเรียกว่าโรคอุบัติใหม่)ตลอดจนภัยอื่นๆและหากเกิดขึ้นแล้วอาจระบาดเป็นไปอย่างกว้างขวางและรวดเร็วส่งผลกระทบทั้งทางด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ อันมีผลกระทบต่อสุขภาพของสาธารณชน ไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทำให้เกิดขึ้น อุบัติเหตุ หรือเหตุอื่นใดซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ร่างกายของประชาชน รวมทั้งทางด้าน เศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมากจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
ดังนั้นเพื่อให้ประชาชนที่เกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีคุณภาพปลอดภัยอย่างทันท่วงทีในทุกสถานการณ์จึงได้จัดทำโครงการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหา
โรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้สามารถเผชิญและแก้ไขปัญหาสาธารณภัยด้านสาธารณสุขที่เกิดขึ้นอย่างหลากหลายและต่อเนื่องร่วมกัน ได้อย่างมีผลกระทบ และ ความเสียหายน้อยที่สุด

ข้อที่ 1ควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาดฉุกเฉินในพื้นที่ได้รับการแก้ไขทันทีอย่างมีประสิทธิภาพ

80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ 1,000

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การจัดซื้อ

ชื่อกิจกรรม
การจัดซื้อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 เตรียมความพร้อมรับสถานการณ์     1.2  จัดหาวัสดุอุปกรณ์  เวชภัณฑ์  ที่จำเป็น

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 3,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อได้รับการช่วยเหลือกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ทันท่วงที


>