กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังตายอ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการวัยเรียนวัยใสใส่ใจสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังตายอ

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.มะนังตายอ

โรงเรียนบ้านมะนังกาหยี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

55.00
2 จำนวนเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่เสี่ยงต่อปัญหาฟันผุ(คน)

 

140.00

เป็นที่ยอมรับกันว่า การมีสุขภาพที่ดีย่อมเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะสำหรับเด็กในวัยกำลังเจริญเติบโตดังนั้นเพื่อพัฒนาศักยภาพของเด็กให้เป็นผู้ที่มีชีวิตที่ดี บรรลุความมุ่งหมายตามหลักการพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖ “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาเด็กไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ ภูมิปัญญาความรู้ และคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข” การมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กในวัยนี้จึงต้องให้ความรู้ความเข้าใจประสบการณ์การฝึกปฏิบัติในด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องและการให้บริการที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดเป็นสุขนิสัยสามารถลดปัญหาด้านสุขภาพของนักเรียน จนมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์มีความสามารถที่จะพัฒนาด้านกำลังสติปัญญาด้านอารมณ์ และจิตใจได้การดำเนินด้านสุขภาพของนักเรียน ถือเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาควบคู่ไปกับการเรียนซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมโดยรวมนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป
โรงเรียนบ้านมะนังกาหยีมีความตระหนักถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการเสริมสร้างสุขภาพดังกล่าว จึงได้จัดโครงการวัยเรียนวัยใสใส่ใจสุขภาพ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

55.00 55.00
2 พัฒนาทักษะการดูแลรักษาฟันอย่างถูกวิธี

เด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ให้ปลอดจากปัญหาฟันผุ(คน)

140.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2019

กำหนดเสร็จ 01/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 วัยเรียนวัยใสใส่ใจสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
วัยเรียนวัยใสใส่ใจสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

รายละเอียดกิจกรรม 1.อบรมให้ความรู้ วันที่ 1 มิถุนายน 2562
2.จัดกิจกรรมฐานการเรียนรู้ วันที่ 1 มิถุนายน 2562 งบประมาณ 1. ค่าอาหารสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 140 คนๆละ 50 บาท/มื้อ
จำนวน เป็นเงิน 7,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มสาหรับผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 140 คน          คนละ 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 7,000 บาท
3. ค่าป้ายไวนิล 1 x 4 เมตร= 1,000 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

นักเรียนมีสุขภาพกายและมีสุขอนามัยที่ดี


>