กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนใส่ใจสุขภาพห่างไกลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกาวะ องค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ และชุมชนตำบลกาวะ 6หมู่บ้าน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

 

20.00
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

 

20.00

ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบัน และในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับ จะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหา เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย พฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต เป็นต้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ และทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนครอบคลุม กลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก ๓อ.๒ส. เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

10.00
2 เพื่อให้ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป  ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงร้อยละ๙๐

20.00
3 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ๖๐

20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 500
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2018

กำหนดเสร็จ 31/12/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.ประชาสัมพันธ์ ให้กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

๒.จัดกิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป

พร้อมแจ้งผลการคัดกรองให้กลุ่มเป้าหมายทราบ

โดย กลุ่มเป้าหมาย

  • หมู่ที่ 1 บ้านเปาะเจ๊ะเต๊ง จำนวน 100 คน

  • หมู่ที่ 2 บ้านกาวะ จำนวน 100 คน

  • หมู่ที่ 3 บ้านจาแบปะ จำนวน50 คน

  • หมู่ที่ 4 บ้านสายะ จำนวน50 คน

  • หมู่ที่ 5 บ้านบาโงฮูมอ จำนวน 100 คน

  • หมู่ที่ 6 บ้านบาโงสะนิง จำนวน 100 คน

ค่าอาหารว่างในกิจกรรมการคัดกรองความดันเบาหวานในหมู่บ้านจำนวน 500 คน จำนวน 500 X 25 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน12,500 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น12,500 บาท(หนึ่งหมื่นสองพันห้าร้อยบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปได้รับคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12500.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
อบรมกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงเกี่ยวกับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 200 คน

๑. ค่าอาหารกลางวันในโครงการฯจำนวน 200 คน จำนวน 200 X 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน 10,000บาท

๒. ค่าอาหารว่างในโครงการฯจำนวน 200 คน จำนวน 200 X 25 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท

๓. ค่าจัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์ ในการจัดโครงการ. จำนวน 200 ชุด 200 X 30 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น26,000.- บาท(สองหมื่นหกพันบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน โรคความดันสูง และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมป้องกันภาวะแทรกซ้อนการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมป้องกันภาวะแทรกซ้อนการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมป้องกันภาวะแทรกซ้อนการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)ในผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยการจัดอบรมให้ความรู้และคัดกรองภาวะตา ไต เท้า ในผู้ป่วย จำนวน 200 คน

๑. ค่าอาหารกลางวันในโครงการฯจำนวน 200 คน จำนวน 200 X 50 บาท X 1 มื้อ เป็นเงิน 10,000บาท

๒. ค่าอาหารว่างในโครงการฯจำนวน 200 คน จำนวน 200 X 25 บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท

๓. ค่าจัดซื้อวัสดุ/อุปกรณ์ ในการจัดโครงการ. จำนวน 200 ชุด 200 X 30 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท

รวมเป็นเงินทั้งสิ้น26,000.- บาท(สองหมื่นหกพันบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและหรือความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรค และภาวะแทรกซ้อนการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) และได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 64,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ประชาชนอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในพื้นที่ได้รับการตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง

๒. ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชน ในการดูแลสุขภาพประชาชนร่วมกัน

๓. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม

๔. กลุ่มป่วยไม่เกิดโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)


>