กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

สำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้กระบวนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดำเนินกิจกรรมของกองทุน

1.จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์/หรือคณะอนุกรรมการของกองทุน  อย่างน้อย  4 ครั้ง/ปี

0.00
2 2. เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพ
  1. การบริหารจัดการกองทุนอื่นๆ ตามความจำเป็น เช่น การจัดซื้อวัสดุสำนักงาน  และจัดทำป้ายไวนิลเพื่อใช้ประกาศผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ
0.00
3 3. เพื่อปรับปรุงพัฒนาข้อมูลและบุคลากรของกองทุนให้มีคุณภาพและทันสมัย
  1. การเดินทางไปประชุม  สัมนา  และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทุน
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 80

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น : 01/10/2018

กำหนดเสร็จ : 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าตอบแทน 400.- บาท/ครั้ง x 18 คน x 6 ครั้ง = 43,200.- บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับคณะกรรมการกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุม 35.- บาท/ครั้ง x 23 คน x 6 ครั้ง = 4,830.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
48030.00

กิจกรรมที่ 2 ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองปาดังเบซาร์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าตอบแทน 300.- บาท/ครั้ง x 24 คน x 4 ครั้ง = 28,800.- บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มคณะอนุกรรมการกองทุนฯ และผู้เข้าร่วมประชุม 35.- บาท/ครั้ง x 29 คน x 4 ครั้ง = 4,060.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32860.00

กิจกรรมที่ 3 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าตอบแทน 300.- บาท/ครั้ง x 9 คน x 2 ครั้ง = 5,400.- บาท
  2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  35.- บาท/ครั้ง x 9 คน x 2 ครั้ง = 630.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6030.00

กิจกรรมที่ 4 ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ

ชื่อกิจกรรม
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าตอบแทนวิทยากร     - วิทยากรบรรยาย 600.- บาท/ชม. x 1 คน x 3 ชม. = 1,800.- บาท     - วิทยากรกลุ่ม 600.- บาท/ชม. x 3 คน (แบ่ง 3 กลุ่ม) x 3 ชม. = 5,400.- บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน (คณะกรรมการฯ,อนุกรรมการ,หน่วยงาน, องค์กร กลุ่ม ฯลฯ 42 คน + ผู้ดำเนินการ 5 คน + วิทยากร 3 คน) 50 คน x 150.- บาท/มื้อ = 7,500.- บาท
  3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม   (คณะกรรมการฯ,อนุกรรมการ,หน่วยงาน, องค์กร กลุ่ม ฯลฯ 42 คน + ผู้ดำเนินการ 5 คน + วิทยากร 3 คน) 50 คน x 35.- บาท/มื้อ x 2 มื้อ = 3,500.- บาท
  4. ค่าวัสดุและเอกวารประกอบการอบรม  จำนวน 42 ชุด x 100.- บาท/ชุด = 4,200.- บาท
  5. ค่ากระเป๋าใส่เอกสาร จำนวน 42 ใบ x 250.- บาท/ใบ  = 10,500.- บาท
  6. ค่าไวนิล 1 x 3 เมตร (ตารางเมตรละ 200.- บาท) = 600.- บาท 
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
33500.00

กิจกรรมที่ 5 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร

ชื่อกิจกรรม
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เพื่อจ่ายเป็นค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ค่าเช่าที่พัก ค่าลงทะเบียนและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ในการเดินทางไปราชการของคณะกรรม อนุกรรมการฯและเจ้าหน้าที่ 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

กิจกรรมที่ 6 จัดซื้อครุภัณฑ์

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อครุภัณฑ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ซื้อคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16000.00

กิจกรรมที่ 7 จัดซื้อวัสดุสำนักงาน

ชื่อกิจกรรม
จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

กิจกรรมที่ 8 จัดทำป้ายไวนิลเพื่อใช้ประกาศผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ

ชื่อกิจกรรม
จัดทำป้ายไวนิลเพื่อใช้ประกาศผลการปฏิบัติงานเมื่อสิ้นปีงบประมาณ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ไวนิล ขนาด 1 x 3 เมตร 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 162,620.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการสนับสนุนในการดูแลสุขภาพตนเองและชุมชน
2. กองทุนสามารถบริหารระบบหลักประกันสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน


>