กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด 0 - 6 ปี

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาเนาะปูเต๊ะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน กม.๒๖ ใน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกม.๒๖ใน ม.๒ ตำบลตาเนาะปูเต๊ะอำเภอบันนังสตา จ.ยะลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด – ๕ ปี

 

0.00
2 2. เพื่อให้เด็กแรกเกิด – ๕ ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม

 

0.00
3 3. เพื่อให้เด็กแรกเกิด – ๕ ปี ที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก

 

0.00
4 4. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิด – ๕ ปี

 

0.00
5 5. เพื่อสร้างเสริมความรัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก

 

0.00
6 6. เพื่อให้มีมุมพัฒนาการสำหรับเด็กแรกเกิด – ๕ ปี ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านกม.26ใน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 90
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2018

กำหนดเสร็จ 28/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบให้ความรู้ผู้ปกครอง และเด็กแรกเกิด – ๕ ปี

ชื่อกิจกรรม
อบให้ความรู้ผู้ปกครอง และเด็กแรกเกิด – ๕ ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะปูเต๊ะ  ประจำปีงบประมาณ  ๒๕๖๑ จำนวน ๑๐,๐๐๐ บาท รายละเอียดดังนี้ 1.อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย  จำนวน ๖๐ คน   - ค่าอาหารกลางวัน(ผู้ปกครอง)  ๓๐ คน x 50 บาท x 1 มื้อ            เป็นเงิน  ๑,๕00 บาท       - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(เด็กและผู้ปกครอง) ๖๐  คน x 25 บาท x ๒ มื้อ                                                   เป็นเงิน  ๓,๐00 บาท 2.ค่าวิทยากร  1 คน x  300 บาท x 4 ชั่วโมง x 1 วัน                              เป็นเงิน  1,200 บาท 3.ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ 1 แผ่น                                                   เป็นเงิน 1,000 บาท 4.ค่าวัสดุใช้ในการอบรม                                                                       เป็นเงิน  ๙๐0 บาท ค่าแฟ้ม 30 คน x 15 บาท                    
    ค่าสมุด 30 คน x 10 บาท                    
    ค่าปากกา 30 คน x 5 บาท
5.จัดซื้ออาหารเสริมสำหรับเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 30 คน x ๘๐ บาท                 เป็นเงิน ๒,๔00 บาท        
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๑๐,๐๐0 บาท (หนึ่งหมื่นบาทถ้วน)

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็กแรกเกิด – ๕ ปีได้รับการประเมินโภชนาการ และพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ 90
  2. เด็กแรกเกิด – ๕ ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์  คิดเป็นร้อยละ 80
  3. เด็กแรกเกิด – ๕ ปีมีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และ สังคม  คิดเป็นร้อยละ 85
  4. เด็กแรกเกิด – ๕ ปีที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย
    และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
  5. ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริม โภชนาการและพัฒนาการ เด็กแรกเกิด – ๕ ปี การประเมินผล ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการ เด็กแรกเกิด – ๕ ปี และเด็กแรกเกิด – ๕ ปีได้รับการประเมินโภชนาการ และพัฒนาการทุก 3 เดือน





จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กแรกเกิด – ๕ ปีได้รับการประเมินโภชนาการ และพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ 90
2. เด็กแรกเกิด – ๕ ปี มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 80
3. เด็กแรกเกิด – ๕ ปีมีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และ
สังคมคิดเป็นร้อยละ 85
4. เด็กแรกเกิด – ๕ ปีที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย
และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติมาก
5. ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริม
โภชนาการและพัฒนาการ เด็กแรกเกิด – ๕ ปี
การประเมินผล
ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการ เด็กแรกเกิด – ๕ ปี และเด็กแรกเกิด – ๕ ปีได้รับการประเมินโภชนาการ และพัฒนาการทุก 3 เดือน


>