กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

รพ.สต.บ้านทุ่งยาว

1.นายเอนก กลิ่นรส
2.นางสาวณัฐณิชา สมจิตร
3.นายธานัท ยอดแก้ว
4.นางกิตติยา พรหมปาน

ห้องประชุม รพ.สต.บ้านทุ่งยาว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 หญิงวัยเจริญพันธ์มีภาวะโลหิตจางร้อยละ 23.70

 

3.00

ปัจจุบันสถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กพบปัญหาอุปสรรคต่อการดูแลมารดาและทารกในหลายประเด็นเช่นการขาดสารไอโอดีนของหญิงตั้งครรภ์ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย ทารกพิการแต่กำเนิด สถานการณ์ปัญหาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กและโฟลิกเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยที่สำคัญ ประเทศไทยจากรายงานโครงการจดทะเบียนความพิการแต่กำเนิดสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ปี 2558 พบเด็กพิการแต่กำเนิด 4,697 ราย หรือ ร้อยละ 2.73 ต่อเด็กมีชีพ 1,000 ราย ในประชาชนไทยมีมาตรการเสริมยาธาตุเหล็กและโฟลิกเชิงป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ในประชากรกลุ่มเสี่ยง และมาตรการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็กนั้นจากการดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กที่ผ่านมา พบว่า สถานการณ์ปัญหาโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ จากการสำรวจโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์พ.ศ.2559 –2560 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว พบว่า ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์มีแนวโน้มความชุกโลหิตจางสูงขึ้น พ.ศ.2559 หญิงตั้งครรภ์มีความชุกโลหิตจาง ร้อยละ 28.4 ดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาวกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโคกชะงายจึงจัดทำโครงการส่งเสริมยาเสริมธาตุเหล็ก กรดโฟลิกโดยการส่งเสริมการบริโภคผักผลไม้ (โฟเลท) และธาตุเหล็ก ส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ ได้รับวิตามินธาตุเหล็กและโฟลิก สัปดาห์ละ 1ครั้ง อย่างน้อย 12 สัปดาห์ก่อนตั้งครรภ และจัดอบรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบ๓หมู่บ้านคือ หมู่ที่ ๑,๗,๙ตำบลโคกชะงาย เพื่อสร้างค่านิยมระยะยาว รวมทั้ง ให้ความรู้คำแนะนำแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้เกี่ยวกับภาวะโลหิตจางการบริโภคผักผลไม้อาหารธาตุเหล็กโฟเลทสูง เพิ่มขึ้น ร้อยละ50

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมการใช้ธาตุเหล็ก กรดโฟลิก ในกลุ่มหญิงวัยเริญพันธ์

ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย  ใช้ยาธาตุเหล็กและกรดโฟลิค

2.00 580.00

เพื่อส่งเสริมการใช้ธาตุเหล็ก กรดโฟลิก ในกลุ่มหญิงวัยเริญพันธ์

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 07/01/2019

กำหนดเสร็จ 30/07/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อชี้แจงโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อชี้แจงโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อสม.เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้แก่ อสม

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้แก่ อสม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เอกสารการอบรมเป็นเงิน1,543บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

อสม.มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1543.00

กิจกรรมที่ 3 จ่ายยาธาตุเหล็กและโฟลิค

ชื่อกิจกรรม
จ่ายยาธาตุเหล็กและโฟลิค
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่ายาเม็ดโฟลิกจำนวน580คนจำนวน 52 สัปดาห์ๆ ละ 1 เม็ด ๆ ละ 0.20 บาท เป็นเงิน 6,032 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายได้รับยาโฟลิก

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6032.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 7,575.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ประชากรกลุ่มเป้าหมายไม่มีภาววะโลหิตจาง


>