กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจัดการขยะโดยชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย

ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านทุ่งยาว

1. นางหนูอั้น ไข่ทอง
2. นางอวยพร คงหมุน
3. นางศรีอมร ฉิ้มสังข์
4. นายอุทิศ คงทอง
5. นางปรีดา เทพชนะ

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยชุมชน และคาดว่าจะมีปริมาณเพิ่มเรื่อยๆ(ข้อมูลจากเทศบาลตำบลโคกชะงาย) เนื่องจากมีประชาชนอาศัยเพิ่มมากขึ้น มีการปลูกที่อยู่อาศัยเพิ่มมากขึ้น มีร้านค้าจำหน่ายอาหารเพิ่มขึ้น ประชาชนในชุมชน จากเดิมที่เคยปรุงอาหารรับประทานเอง หันมาซื้ออาหารสำเ

 

2.00

หมู่ที่ 1,7,9 ตำบลโคกชะงาย มีปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยชุมชน และคาดว่าจะมีปริมาณเพิ่มเรื่อยๆ(ข้อมูลจาก
เทศบาลตำบลโคกชะงาย) เนื่องจากมีประชาชนอาศัยเพิ่มมากขึ้น มีการปลูกที่อยู่อาศัยเพิ่มมากขึ้น มีร้านค้าจำหน่าย
อาหารเพิ่มขึ้น ประชาชนในชุมชน จากเดิมที่เคยปรุงอาหารรับประทานเอง หันมาซื้ออาหารสำเร็จรูปมากขึ้น เพื่อความ
สะดวกรวดเร็ว และประหยัดเวลาเพราะเร่งรีบในการประกอบอาชีพ จึงส่งผลให้มีปริมาณขยะมากขึ้น แต่การจัดการ
ขยะไม่ถูกหลักสุขาภิบาลทำให้ เศษวัสดุเหลือใช้ฝนตกลงมาน้ำขังเป็นแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทำให้เกิดปัญหา
มลพิษต่อสภาพแวดล้อมอย่างมากมาย เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และแพร่กระจายของเชื้อโรค ที่ก่อปัญหาด้านสุขภาพ
อนามัย หมู่ที่ 1,7,9 ใช้กระบวนการของหมู่บ้านจัดการสุขภาพมาใช้ในการแก้ปัญหาการจัดการขยะของชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนมีการจัดการขยะให้ครอบคลุมทุกพื้นที่เป้าหมายเพื่อลดภาวะเสี่ยงของการเกิดโรคจากมลภาวะของขยะ

ปริมาณขยะในครัวเรือนลดลง ร้อยละ50 เมือเทียบกับปี 2561

2.00 60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 16/01/2019

กำหนดเสร็จ 30/07/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. คืนข้อมูลแก่ชุมชน เปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการขยะครบวงจร และรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
1. คืนข้อมูลแก่ชุมชน เปิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการจัดการขยะครบวงจร และรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่าและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คนๆละ2 มื้อๆ 23 บาท เป็นเงิน 2,760 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คนๆ50 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชาที่เข้าร่วมโครงการมีการจัดการขยะถูกต้อง จำนวน 60 หลังคาเรือน ที่ยั่งยืน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5760.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 5,760.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ทําให้ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ
2. ทําให้ลดปริมาณขยะภายในชุมชนโดยเฉพาะขวดแก้ว กระป๋อง และกระดาษ
3. แหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายลดลง
4. ทําให้มีการปลูกจิตสํานึกของเด็ก เยาวชน และประชาชนในการคัดแยกขยะ นํากลับมาใช้ ประโยชน์อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน


>