กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะขนุน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคุ้มครองผู้บริโภค

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะขนุน

ชมรมคุ้มครองผู้บริโภค

1. .นางสาวผดุงศรีอินประเสริฐ
2. นายสมเดชแซ่เตียว
3.นางสมถวิลนพเลิศ
4.นางกรรญาดวงประทุม
5.นางวิภานิลศิริ

ตำบลเกาะขนุนอำเภอพนมสารคามจังหวัดฉะเชิงเทรา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้ในการเลือกอาหาร สินค้า และผลิตภัณฑ์ต่าง ที่จะนำมาจำหน่ายได้

 

50.00
2 ร้านค้า/แผงลอยที่จำหน่ายอาหารสด ได้รับป้ายอาหารปลอดภัย

 

50.00
3 ประชาชน แกนนำสุขภาพ และ อสม.ในพื้นที่มีความรู้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยมาบริโภค และอุปโภคได้ถูกต้อง

 

55.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้ในการเลือกอาหาร สินค้า และผลิตภัณฑ์ต่าง ที่จะนำมาจำหน่ายได้

จากการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการจัดอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขี้นร้อยละ 80 และจากการสอบถามผู้เข้ารับการอบรมสามารถตอบคำถามได้ถูกต้อง

80.00
2 ร้านค้า/แผงลอยที่จำหน่ายอาหารสด ได้รับป้ายอาหารปลอดภัย

จากการตรวจร้านค้า / แผงลอย ในเขต จำนวน 30 ร้าน ผ่านตามเกณฑ์ จำนวน 30 ร้าน โดยมาบางร้านติดเงื่อนไขเล็กน้อยที่ปรับปรุงและทำตามคำแนะนำได้เลย

85.00
3 ประชาชน แกนนำสุขภาพ และ อสม.ในพื้นที่มีความรู้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยมาบริโภค และอุปโภคได้ถูกต้อง

กลุ่มแกนนำเข้ารับการอบรมด้วยโดยทุกท่านที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เรื่องการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ อาหาร ยา และ เครื่องสำอางได้อย่างถูกต้องและสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ให้ประชาชนในหมู่บ้านได้ ซึ่งเป็นการเฝ้าระวังเบื้องต้นของประชาชนในพื้นที่

80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 25/07/2018

กำหนดเสร็จ 28/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการร้านค้า

ชื่อกิจกรรม
ฟื้นฟูความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้ประกอบการร้านค้า
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 100 คน * 80 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท
2.ค่าอาหารว่างสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 100 คนๆละ 2 มื้อๆละ 30 บาท เป็นเงิน 6,000 บาท 3.ค่าจัดทำแผ่นสติ๊กเกอร์ความรู้ จำนวน50 แผ่นๆละ 50 บาทเป็นเงิน 2,500 บาท 4.ค่าวัสดุ/อุปกรณ์/ในการตรวจสารปนเปื้อนเป็นเงิน3,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้ในการเลือกอาหาร สินค้า และผลิตภัณฑ์ต่าง ที่จะนำมาจำหน่ายได้ 2.ร้อยละ 85 ของร้านค้า/แผงลอยที่จำหน่ายอาหารสด ได้รับป้ายอาหารปลอดภัย 3.ร้อยละ 80 ของประชาชน แกนนำสุขภาพ และ อสม.ในพื้นที่มีความรู้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยมาบริโภค และอุปโภคได้ถูกต้อง 4.ร้านจำหน่ายอาหารในเขตตำบลเกาะขนุนได้รับการตรวจอาหารและได้มาตรฐานจนได้รับป้ายอาหารปลอดภัย 5. ผู้บริโภคอาหารได้ใช้ผลิตภัณฑ์ และบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

กิจกรรมที่ 2 ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและแจกสติกเกอร์ความรู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องสำอาง

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและแจกสติกเกอร์ความรู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องสำอาง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. สาธิตการตรวจสอบสารปนเปื้อนอาหาร และหลักการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ
  2. แจกแผ่นสติ๊กเกอร์ความรู้ในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องสำอางที่สามารถจำหน่ายและไม่สามารถจำหน่ายได้ให้กับผู้ประกอบการร้านขายของชำไปติดที่ร้าน
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ติดสติกเกอร์ความรู้ในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาและเครื่องสำอางที่สามารถจำหน่ายและไม่สามารถจำหน่ายได้ให้กับผู้ประกอบการร้านขายของชำจำนวน30ร้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

(1)ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้ในการเลือกอาหาร สินค้า และผลิตภัณฑ์ต่าง ที่จะนำมาจำหน่ายได้
(2)ร้อยละ 85 ของร้านค้า/แผงลอยที่จำหน่ายอาหารสด ได้รับป้ายอาหารปลอดภัย
(3)ร้อยละ 80 ของประชาชน แกนนำสุขภาพ และ อสม.ในพื้นที่มีความรู้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยมาบริโภค และอุปโภคได้ถูกต้อง
(4)ร้านจำหน่ายอาหารในเขตตำบลเกาะขนุนได้รับการตรวจอาหารและได้มาตรฐานจนได้รับป้ายอาหารปลอดภัย
(5)ผู้บริโภคอาหารได้ใช้ผลิตภัณฑ์ และบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน


>