กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหมู่บ้านควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2562 รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษา และควบคุมโรคภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว(One Health) สืบเนื่องจากหลายทศวรรษที่ผ่านมา สภาวะทางสังคมการดำเนินชีวิตของมนุษย์และสภาวะแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไป จนเกิฌโรคติดต่อที่เป็นโรคประจำถิ่น หรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ ซึ่งหมายความรวมถึงโรคติดต่ออุบัติซ้ำ เชื้อก่อโรคที่ดื้อยาต้านจุลชีพ เช่น โรคติดต่อที่ป้องกันโรคด้วยวัคซีน โรคไข้หวัดนก โรคไข้หวัดใหญ่ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสังคมและเศษฐกิจ โรคติดต่อที่ก่อเหตุให้เกิดอันตรายในมนุษย์ มีสาเหตุมาจากสัตว์หรือสัตว์ป่า และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัวที่เหมาะสม และตำบลปะเสยะวอเป็นตำบลหนึ่งที่พบผู้ป่วยทุกปี ซึ่งในปีที่ผ่านมาพบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 53.37 ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรค ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคและให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชนและโรงเรียน ตลอดจนทุกภาคส่วนร่วมมือผลึกพลังความคิด ความร่วมมือแก้ไขปัญหาโรคระบาดร่วมกัน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันและควบคุมโรคระบาดประจำท้องถิ่น ให้ได้ตามมาตรฐาน กรมควบคุมโรค

อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐาน ย้อนหลัง 5 ปี

0.00
2 เพื่อสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคโดยชุมชน

ร้อยละ 80 ของหมู่บ้านมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10

0.00
3 เพื่อเฝ้าระวังโรคติดต่อ ในชุมชน

ร้อยละ 100 ของโรงเรียนและวัด มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายเท่ากับ 0

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
แกนนำประชาชนทั่วไป 80

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12450.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,450.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการควบคุม ป้องกัน และเฝ้าระวังโรคในพื้นที่
2.ประชาชนมีความรู้โรคระบาดที่ถูกต้อง สามารถเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคได้ด้วยตนเอง


>