กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการฟันสวยยิ้มใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (คน)

 

30.00
2 ผู้ปกครองและเด็กขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กอย่างถูกวิธี

 

50.00

การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพดี สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคนโดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ1 – 3 ปีสาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ถูกต้องรวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรงทำให้เด็กมีความเจ็บปวดเคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่สำคัญที่สุดในชีวิตเด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสมเพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการตามวัย
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงฮูมอ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากจึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้ปกครองขึ้นเพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่ดีพร้อมที่จะเรียนรู้ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ

จำนวนเด็กเล็ก(0-3 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ (คน)

30.00 10.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กอย่างถูกวิธี

ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กอย่างถูกวิธี

80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2019

กำหนดเสร็จ 31/03/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยในเรื่องการดูแลสุขภาพฟัน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยในเรื่องการดูแลสุขภาพฟัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน 50 คน X 50  บาท         เป็นเงิน  2,500.-  บาท                 - ค่าอาหารว่าง  50คน X 25 บาท X 2 มื้อ     เป็นเงิน  2,500.-  บาท                 - ค่าป้ายไวนิลโครงการ(ขนาดกว้าง1 ม.Xยาว2.50ม.) จำนวน1ป้าย เป็นเงิน  750 บาท                 - ค่าวิทยากร      เป็นเงิน 500.- บาท                    รวมทั้งสิ้น  6,250.-   บาท (หกพันสองร้อยห้าสิบบาทถ้วน)
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยจำนวน 50 คน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพในช่องปากเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
  • สามารถลดจำนวนเด็กปฐมวัยที่มีปัญหาในช่องปาก ร้อยละ 10
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6250.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 6,250.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้ปกครองได้มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพฟัน ช่องปากให้แก่เด็กปฐมวัย
2.เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แปรงฟันได้อย่างถูกวิธี
3.สุขภาพช่องปากของเด็กปฐมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดีขึ้น


>