กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)

 

5.00

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช2542 ได้กำหนดมาตรฐานการส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงออก
และมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ และกรมอนามัยกระทรวงสาธรณสุขได้กำหนด น้ำหนักของเด็กอายุ 3-5 ปี อยู่ในช่วง
น้ำหนัก11.5 - 21.5 กิโลกรัม ส่วนสูง อยู่ในช่วง 8.8 -110.5ซ.ม. จากการสำรวจสภาพปัญหาของทุกศูนย์พัฒนา
เด็กเล็กจะพบว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กส่วนใหญ่ มีปัญหาเด็กมีน้ำหนักและส่วนสูง อยู่ในภาวะต่ำกว่าเกณฑ์ปัญหาเด็ก
ตัวเล็กน้ำหนักน้อยมักเป็นที่กังวลของแม่ และพยายามหาวิธีต่างๆ เพื่อช่วยให้ลูกของตนนั้นมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น
เพราะนอกจากทางร่างกายจะเจริญเติบโตช้า ยังมีผลต่อการเรียนรู้ ความจำของสมอง การติดเชื้อง่าย เจ็บป่วยบ่อย
เนื่องจากภูมิต้านทานที่ไม่ดีและร่างกายที่ไม่แข็งแรง
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิงจึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยในเด็กปฐมวัย
(อาหารและโภชนาการในเด็กปฐมวัย) เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีความรู้ ความเข้าใจ ในสุขภาพอนามัยของเด็ก สามารถดูแลเด็กในความปกครองของตนเองได้รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ถูกสุขลักษณะ รวมถึงการดื่มน้ำที่สะอาดยังให้ผู้ปกครองได้เล้งเห็นถึงความสำคัญในการรับประทานอาหารพร้อมทั้งเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านและชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)

5.00 3.00
2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการ

จำนวนผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการ(คน)

54.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 54
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู้ปกครอง 54

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2019

กำหนดเสร็จ 30/06/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง

ชื่อกิจกรรม
โครงการโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโงสนิง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน                       จำนวน   54 คน X  50  บาท               เป็นเงิน    2,700   บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม            จำนวน    54 คน X  25  บาท X 2 มื้อ    เป็นเงิน    2,700  บาท
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ( 1 เมตร X 2.50 เมตร )                                         เป็นเงิน      750  บาท
  • ค่าวิทยากร                                                                                    เป็นเน        500  บาท                  รวมเป็นเงิน                   6,650   บาท  (หกพันหกร้อยห้าสิบบาทถ้วน)
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

-เด็กก่อนปฐมวัย(3ปีขึ้นไป-6ปี)ทีมีภาวะเสี่ยงด้านโภชนาการลดลง -ผู้ปกครองมีความรู้ด้านโภชนาการมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6650.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 6,650.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เด็กก่อนปฐมวัย(3ปีขึ้นไป-6ปี)ทีมีภาวะเสี่ยงด้านโภชนาการลดลง
-ผู้ปกครองมีความรู้ด้านโภชนาการมากขึ้น


>