กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมเกษตรกรในการใช้สารเคมีและตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าจีน

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าจีน

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าจีน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ

 

1.00

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่ารับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมาเช่นโรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้น
ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าจีนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรมเช่นทำสวน ปลูกพืชผัก ปลูกข้าวเป็นต้น และมีการใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืช อยู่เป็นจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้น หากมีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จะทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพโดยตรง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าจีน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพเกษตรกร จึงจัดทำโครงการอบรมเกษตรกรในการใช้สารเคมีและตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้ สามารถป้องกันตนเองจากสารเคมีได้ถูกต้อง และได้รับการตรวจเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไปมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้ถูกต้อง ข้อที่ 2เพื่อประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ข้อที่ 3 เพื่อศึกษาผลการตรวจระดับสารเคมีตกค้างในเลือดในกลุ่มประชาชนทั่วไป

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1. เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้นร้อยละ  100 2. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดร้อยละ  100 3. เกษตรกรที่ผลการตรวจอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการติดตาม ร้อยละ 100

  1. ประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดร้อยละ  100
  2. ประชาชนทั่วไปที่ผลการตรวจอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการติดตาม ร้อยละ 100
50.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2019

กำหนดเสร็จ 31/08/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ 1.2 กิจกรรมตรวจเลือดหาสารเคมีครั้งที่ 1 ตามกลุ่มเป้าหมายที่อบรม 1.3 ตรวจเลือดหาสารเคมีครั้งที่ 2 ติดตามเกษตรกรที่ผลการตรวจอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ 1.2 กิจกรรมตรวจเลือดหาสารเคมีครั้งที่ 1 ตามกลุ่มเป้าหมายที่อบรม 1.3 ตรวจเลือดหาสารเคมีครั้งที่ 2 ติดตามเกษตรกรที่ผลการตรวจอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ 1.1กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกษตรกรและประชาชนทั่วไป จำนวน 5 วันๆละ 1 หมู่บ้าน

- เกษตรกรหมู่ละ 25 คน
- ประชาชนทั่วไปหมู่ละ 25 คน - วิทยากร จำนวน   1  คน - ผู้เข้าร่วม/ประธาน   จำนวน  4  คน(เฉพาะวันเปิดโครงการวันแรกของการจัดอบรม) 1. ค่าวิทยากร
500 บาท x 3 ชม. x 5 วัน   = 7,500 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน
60 บาท x51 คนx 5 วัน =15,300 บาท 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกิจกรรมวันที่ 1(เช้า) 25 บาท x 55 คน = 1,375 บาท 4. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มกิจกรรมวันที่ 2-5 (เช้า) 25 บาท x 51 คน x 4 วัน = 5,100 บาท 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (บ่าย) 25 บาท x 51 คน x 5 วัน = 6,375 บาท 4. ค่าจ้างจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด  1 เมตร x 2 เมตร  = 300 บาท1.2 กิจกรรมตรวจเลือดหาสารเคมีคร้้งท่স 1 ตามกล่ มเป้าหมายท่ อบรม 1. ค่าชุดทดสอบโคลีนเอสเตอเรสพร้อมอุปกรณ์ 100 ตย. 1,500 บาท x 3 ชุด = 4,500 บาท 1.3 ตรวจเลือดหาสารเคมีครั้งที่ 2  ติดตามเกษตรกรที่ผลการตรวจอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัย 1. ค่าชุดทดสอบโคลีนเอสเตอเรสพร้อมอุปกรณ์ 100 ตย. 1,500 บาท x 1 ชุด = 1,500 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.  เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้ถูกต้อง 2.  เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด 3.  เกษตรกรและประชาชนทั่วไปที่ผลการตรวจอยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการติดตาม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
41950.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 41,950.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>