กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ ปิงปอง 7 สี ต้านภัยโรคเบาหวาน ความดันในชุมชน (ม.2 ต.น้ำน้อย )

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย

ชมรมอสม. หมู่ที่ 2

1. นางนีลวรรณ์นีลมณี(ผู้เสนอโครงการ)
2. นางสาวสมจิตอัมโร
3. นางกัลยาไพจิตรกุญชร
4. นางระบายบุตรเอก
5. นางธิติมาโคราช
6. นางภิสลดาขุนพ่วง
7. นางรัชนีจิตนุกูล
8. นางสมใจศรีประสม
9. นางสมคิดชนวรรณโณ
10.นางละมัยบุตรราษฎร

ชมรมอสม. หมู่ที่ 2

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนในพื้นที่ สนใจดูแลสุขภาพ ออกมาตรวจวัดความดันและน้ำตาลอย่างสม่ำเสมอ

 

100.00
2 จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานลดลง

 

90.00
3 จำนวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแบบเฉียบพลัน

 

90.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ สนใจดูแลสุขภาพ ออกมาตรวจวัดความดันและน้ำตาลอย่างสม่ำเสมอ ข้อที่ 2 ลดการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ข้อที่3 ลดการเกิดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแบบเฉียบพลัน

ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ประชาชนที่อายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชนได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดัน ร้อยละ 100ในปี 2562 2 กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดัน เกิดภาวะแทรกซ้อนเป็นผู้ป่วยติดเตียง ร้อยละ 0 ในปี 2562 1.ไม่เกิดผู้ป่วยโรคความดันรายใหม่มากกว่า 5 คนต่อปี 2.ไม่เกิดผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่มากกว่า 5 คนต่อปี 1.จำนวนผู้ป่วยที่รพ.ส่งกลับมาติดตามเยี่ยมจากภาวะ แทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดันไม่เกิน 5 คนต่อปี

90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 05/01/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 3. เปิดโครงการปิงปอง 7 สีปี62 อย่างเป็นทางการ 3.1 กิจกรรมย่อย - อบรมให้ความรู้แก่ชาวบ้านหมู่ที่ 2 ตำบลน้ำน้อย ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อต้านภัยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน - รับการคัดกรองและรับคำแนะนำจากวิทยากร 4.ดำเนินกิจกรรมปิงปอง 7 สีในชุม

ชื่อกิจกรรม
3. เปิดโครงการปิงปอง 7 สีปี62 อย่างเป็นทางการ 3.1 กิจกรรมย่อย - อบรมให้ความรู้แก่ชาวบ้านหมู่ที่ 2 ตำบลน้ำน้อย ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อต้านภัยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน - รับการคัดกรองและรับคำแนะนำจากวิทยากร 4.ดำเนินกิจกรรมปิงปอง 7 สีในชุม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าวิทยากร 3 ชม.x 500บ.          = 1,500 บ. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม40คนx 25 = 1,000บ.





อาหารว่างและเครื่องดื่ม15คนx 25บ.   =  375บ.


อาหารว่าง 15คนx 25บ.   =  375บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
19600.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 19,600.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีความรู้และตื่นตัวในการเฝ้าระวังโรคเบาหวานความดันมากขึ้น
2.ไม่เกิดหรือลดจำนวนผู้ป่วยเบาหวาน ความดัน รายใหม่ในปีงบประมาณ 2562-2563 ในกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่
รับผิดชอบ
3.เกิดแกนนำส่งเสริมสุขภาพในชุมชนที่เข้มแข็ง
4.เกิดมาตรการทางสังคมในการสร้างสุขภาพของชุมชน
5. ประชาชนเริ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพในทางที่ดีขึ้นและเริ่มใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น


>