กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมการรักษาโรคด้วยลูกประคบสมุนไพร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า ประจำปี 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าน้ำ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านสุเหร่า

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสุเหร่า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยที่สืบทอดกันมาซึ่งมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ระบุถึงการใช้พืชพรรณสมุนไพรตั้งแต่สมัยพุทธกาลการนำสมุนไพรมาใช้ได้ทั้งในแง่การนำมารับประทานเป็นอาหารเช่น การรับประทานพืชผักหรือนำมาประกอบอาหาร นอกจากนั้นยังนำมาใช้เป็นยารักษาโรคเวลาเกิดอาการเจ็บป่วย การใช้ลูกประคบสมุนไพรก็เป็นในภูมิปัญญาไทยที่คนไทยนำมาใช้เป็นยารักษาโรคเวลาเกิดอาการเจ็บป่วย การใช้ลูกประคบสมุนไพรก็เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยที่คนไทยนำมาใช้กันตั้งแต่รุ่นปู่ย่าของเรา ซึ่งลูกประคบมรสรรพคุณช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อย ลดอาการปวดบวม อักเสบ และการเกร็งของกล้ามเนื้อ กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตได้เป็นอย่างดี บรรเทาอาการหวัด รักษาเม็ดผดผื่นคัน ลูกประคบมีสมุนไพรเป็นส่วนประกอบหลักอย่างน้อย 3 ชนิด ได้แก่ ไพล ขมิ้นชันและตะไคร้ อาจผสมสมุนไพรชนิดอื่นๆ เช่น ผิวมะกรูด ใบมะขาม พิมเสน ซึ่งจะใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นนั้นๆ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสุเหร่า ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการรักษาอาการเจ็บป่วย จึงได้ทำโครงการการทำลูกประคบด้วยสมุนไพรนี้ขึ้น เพื่อประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองและสามารถรักษาโรคเบื้องต้นด้วยลูกประคบสมุนไพร

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณต่างๆ ของสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเองและในครอบครัว

 

0.00
2 เพื่อส่งเสริมให้รู้จักการรักษาการเจ็บป่วยด้วยสมุนไพร

 

0.00
3 เพื่อให้มีความรู้ในตอนการผลิตและนำไปใช้ประโยชน์

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2019

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ไพล,ผิวมะกรูด,ตะไคร้,ใบมะขาม,ขมิ้นชัน,เกลือ,การบูร,ใบส้มป่อย,เชือก,ผ้าดิบสำหรับห่อลูกประคบ
  • ค่าอาหารว่าง
  • ค่าอาหารกลางวัน
  • ค่าป้ายโครงการ
  • ค่าวิทยากร
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้เข้าอบรมมีสุขภาพดีขึ้น ใช้สมุนไพรอย่างถูกต้อง
2.ลดอัตราการเจ็บป่วยของผู้เข้าอบรม
3.ผู้เข้าอบรมดูแลสภาพเบื้องต้นของตนเองและคนในชุมชนได้


>