กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการชุมชนร่วมใจ ขจัยภัยโรคไข้เลือดออก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา

ดรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวาและพื้นในตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอดและได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่า ปัญหาโรคไข้เลือดอกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของประเทศไทยปี พ.ศ. 2561 มีผู้ป่วยจำนวน 70,146 ราย (อัตราป่วย 106.19 ต่อแสนประชากร)และมีผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 92 ราย (อัตราตายร้อยละ 0.13 ) ในจังหวัดปัตตานีได้มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแล้วจำนวน 383 ราย (ัตราป่วย 54.3 ต่อแสนประชากร)โดยตำบลบางตาวา ในปัจจจุบัน ตั้งแต่เดือนมกราคม -ตุลาคม 2561 มีจำนวนผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออก จำนวน 2ราย ผอัตราป่วย 0.06 ต่อแสนประชากร)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางตาวา ได้เล็งเห็นความสำคัญการดำเนินการควบคุมและการป้องกันโรคที่เข้มแข็งและมีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการประสานความส่วนร่วมมือกับชุมชนในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของส่วนราชการ องค์กรท้องถิ่และชุมชนจึงได้จัดทำดครงการนี้เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผุ้ป่วยเสียชีวิต ด้วยโรคไข้เลือดออก

อัตราป่วยลดลง ไม่มีอัตราตาย

0.00
2 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุม ป้องกันโำรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม

มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดอกที่ถูกต้อง

0.00
3 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

0.00
4 4. เพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดอก

ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดอก

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ชี้แจงเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถุกต้อง

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ชี้แจงเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถุกต้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องใน รพ.สต. 2. เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประสุขภาพตำบลบางตาวานุมัติ 3.ประสานงานติดต่อหน่วยงาน 4.ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมอบรม 5. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เรื่องสถานการณ์ดรคไข้เลือดออก เรื่องปัญที่เกิดในพื้นที่ เรื่องวิธีการป้องและดูแลตังเองให้ห่างจากดรค 4. ดำเนินการสรุปผลโครงการและนัดวันรณรงค์ กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ ในพื้นที่ตำบลบางตาวาต่อไป ค่่าใข้จ่ายในการดำเนินดครงการ - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มสำหรับผุ้เข้ารับการประชุมชีแจงเชิงปฏิบัติการจำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาทๆจำนวน 100คน เป็นเงิน5,000.-บาท - ค่า.อาหารกลางวันสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 100 คนๆละ 50 บาท เป็นเงิน5,000.-บาท -ค่าพาหนะ สำหรับผู้เข้ารับการอบรม/ประชุมเชิงปฏิบัติการ5,000บาท รวมทั้งหมด5,000 .-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

กิจกรรมที่ 2 เดินรณรงค์ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ป้งกันโรคไข้เลือดออก

ชื่อกิจกรรม
เดินรณรงค์ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ป้งกันโรคไข้เลือดออก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. เลือกกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรมให้ความรู้
  2. เดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ และให้สุขศึกษา ให้กับประชาชนโดยผ่าน แผ่นพับและการพุดประชาสัมพันธ์
  3. กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
  4. ให้ความรู้ประชาชานดูแลรักษาและป้องกันโรคไขเลือดอกโดยเน้นที่บ้านของตนเอง ค่าใช้จ่ายในการณรงค์
    • ค่าอาหารกลางวันสำหรับเดินประชาสัมพันธ์ จำนวน 100 คน x 1 มื้อๆละ50 บาท = 5,000.- บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5000.00

กิจกรรมที่ 3 ค่าเจ้าเหมาพ่นหมอกควัน

ชื่อกิจกรรม
ค่าเจ้าเหมาพ่นหมอกควัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประสานงานกับโรงเรียน วัด และบ้านเรือนของประชาชน
  2. เดินรณณงค์เททรายอะเบทในบริเวณท่อ และบริเวณที่ลุกน้ำอาศัยอยู่หรืบริเวณเสี่ยงเป็นแหล่งเพาะพันธ์ของยุง
  3. พ่นหมอกควันในบริเวณ โรงเรียน วัดและบ้านเรือนประชาชน ทั้ง 2 หมู่ ค่าใช้จ่ายในการพ่นหมอกควัน

- ค่าจ้างเหมาหมอกควัน จำนวน 2 หมู่บ้านๆละ 2,000.- บาท

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 24,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดอกลดลงและไม่มีผุ้ป่วยเสียชีวิต
2. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้งกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
3. ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
4. ประชาชนเกิดความตระหนักและเล็งเห้นความสำคัญของการป้งกันและควบคุมดรคไข้เลือดออก


>