กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

รักสุขภาพ ไม่พื่งโรงพยาบาล

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม

คณะกรรมการเคหะชุมชนโครงการ2

1 น.ส ธัญมนแสนแจ่มใส 2. นางวรรณาชาวนา 3. นางจรรยา แสนแจ่มใส 4. น.ส.ฉวีวรรณ ปัทมพันธ์ 5. นางชะอ้อน หมื่นเทพ 6. นายปรีชาคชเสนีย์ 7 .นายธวัชชัย ปานเดช 8. นายสุวิทย์บุญรัตน์ 9. นายศุภกรกราชู

คณะกรรมการเคหะชุมชนโครงการ2

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสภาวะปัจจุบัน จะเห็นว่าโรงพยาบาลเต็มไปด้วยผู้ป่วย ทั้งผู้ป่วยเก่าและผู้ป่วยใหม่มารอเข้าคิวกันมากมายเพื่อที่จะรอให้หมอวินิจฉัยและสั่งยา จากนั้นก็กลับบ้าน แต่ถ้าสภาพอาการหนัก การรักษานั้น ก็จะให้พักในโรงพยาบาล ซึ่งสภาพดังกล่าว นับวันก็จะมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆหากเราย้อนมองถึงต้นเหตุแห่งการป่วย หลัก ๆ นั้นมาจากความไม่สมดุลของร่างกายขาดการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องซึ่งปัญหาเหล่านี้ ตัวเราเองสามารถที่จะวิเคราะห์เหตุแห่งการเจ็บป่วยได้ดีกว่าหมอที่โรงพยาบาล ฉะนั้นเราจึงควรเรียนรู้เทคนิคการดูแลสุขภาพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักการแพทย์วิถีธรรม เพื่อป้องกันเหตุแห่งการเจ็บป่วยลดจำนวนผู้ป่วยในโรงพยาบาลตามหลักการอาจารย์ใจเพชร กล้าจน(หมอเขียว) ด้วยเทคนิค 9 ข้อ (ยา 9 เม็ด)

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

วัตถุประสงค์
ข้อที่ 1 เรียนรู้วิธีปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคภัยต่างๆ ตัวชี้วัดความสำเร็จ สมาชิกเจ็บป่วยน้อยลง
ข้อที่ 2 เรียนรู้สภาวการณ์เกิดโรคต่างๆ ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด หายได้และบรรเทาได้ด้วยการปรับสมดุลร่ายกาย ตัวชี้วัดความสำเร็จสมาชิกสามารถวินิจฉัยอาการของโรคและวิธีบำบัดโรคด้วยตนเอง
ข้อที่ 3 เรียนรุ้เทคนิคการรับประทานอาหาร ตามลำดับการย่อยง่าย และการคุ้มครองเซลล์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ สมาชิกสามารถนำมาปฏิบัติใช้ได้ในชีวิตประจำวัน

ข้อที่ 4 เรียนรู้กายบริหาร โยคะ การกดจุดลมปราณของอวัยวะต่างๆ เพื่อช่วยฟื้นฟูสุขภาพ ตัวชี้วัดความสำเร็จ สมาชิกสามารถออกกายบริหารได้ถูกต้องเหมาะกับร่างกายตัวเอง
ข้อที่ 5 เรียนรู้ กัวซา ศาสตร์แห่งการดูแลสุขภาพ ซึ่งสามารถตรวจเช็คโรคได้ด้วยตนเองตัวชี้วัดความสำเร็จ สมาชิกสามารถกัวซาตัวเอง และ ผู้อื่น ได้อย่างถูกต้อง และสามารถอ่านโรคที่เกิดขึ้นหลัง กัวซาได้

ข้อที่ 6 เรียนรู้ การแซ่มือ แซ่เท้า และขับพิษ ปรับสมดุลด้วยน้ำสมุนไพร ตัวชี้วัดความสำเร็จสมาชิกสามารถทำน้ำสมุนไพร เพื่อ แซ่มือ แซ่เท้าได้
ข้อที่ 7 มารู้จัก ผลไม้ ผัก สมุนไพร และกลุ่มอาหารที่มีฤทธิ์ร้อนและฤทธิ์เย็นตัวชี้วัดความสำเร็จสมาชิกสามารถนำ ผลไม้ ผัก และ สมุนไพรมาปรับใช้กับตนเองได้
ข้อที่ 8 เรียนรู้การทำน้ำสมุนไพร น้ำผักผลไม้รวาม และการปรุงอาหาร เพื่อการปรับสมดุลร้อน-เย็นตัวชี้วัดความสำเร็จ สมาชิกสามารถทำน้ำสมุนไพร น้ำผักผลไม้รวม และปรุงอาหาร ให้เหมาะกันตนเอง และผู้อื่นได้

ข้อที่ 9 เพื่อให้สมาชิกมาเป็นหมดดูแล และบำบัดสุขภาพตนเอง โดยใช้เทคนิค 9 ข้อ หรือ ยา 9 เม็ดในการดูแลสุขภาพตัวชี้วัดความสำเร็จ สมาธิกสามารถนำหลักการเทคนิค 9 ข้อ หรือ ยา 9 เม็ด มาใช้ในชีวิตประจำวันได้และแนะนำ

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1 ประชาสัมพันธ์โครงการ

ชื่อกิจกรรม
1 ประชาสัมพันธ์โครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • จัดทำป้ายไวนิล ขนาด 100 X 80 ซ.ม จำนวน 3 แผ่น
  • เอกสารเชิญขวน
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ป้ายไวนิล 3 แผ่นๆ ละ 100 =  300   บ.
ถ่ายเอกสาร  100 แผ่น      =    40    บ. กระดาษถ่ายเอกสาร 1 รีม  =   110   บ.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
450.00

กิจกรรมที่ 2 ดำเนินโครงการ ทั้งหมด 9 ครั้ง

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินโครงการ ทั้งหมด 9 ครั้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. วันที่ 1 – 15 มกราคม 2562เริ่มประชาสัมพันธ์ โดย ติดป้ายไวนิล เอกสารเชิญขวน เปิดรับสมาชิก 2. วันเสาร์ ที่ 19 มกราคม 2562 เวลา 14.00 น.ลงทะเบียนสมาชิก ประธานโครงการกล่าวเปิดโครงการ ชี้แจง หลักการและเหตุผลของ โครงการ 14.30 น. วิทยากรบรรยายการดูแลตัวเองด้วยหลักการ ยา 9 เม็ดของอาจารย์ใจเพชร 15.30 น. รับประทานอาหารสุขภาพ ( ผลไม้กะทิสด) 16.00 นแช่มือแข่เท้าในน้ำสมุนไพร ( ยาเม็ดที่ 4) 16.30 น. ออกกำลังกาย กดจุดลมปราณ โยคะ การบริหารที่ถูกต้อง 17.00 น .ธรรมมะ ทำใจให้สบาย (ยาเม็ดที่ 8) 3. วันเสาร์ ที่ 16กุมภาพันธ์ 2562 14.00 น. ลงทะเบียน สมาชิก พูดคุย ปัญหาสุขภาพ และวิธีดูแลของตัวเอง 14.30 น วิทยากรบรรยายประโยชน์การกัวชา หรือ วิธีการกัวชา (ยาเม็ดที่ 2 ) และสมาชิกปฏิบิติ 15.30 น. รับประทานอาหารสุขภาพ
16.00 น..แช่มือแช่เท้าในน้ำสมุนไพร
16.30 น.ออกกำลังกาย กดจุดลมปราณ โยคะ การบริหารที่ถูกต้อง 17.00 น. ธรรมะ ทำใจให้สบาย
4. วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม256214.00 น.ลงทะเบียน สมาชิก พูดคุย ปัญหาสุขภาพ และวิธีดูแลตัวเอง 14.30 น.วิทยากรบรรยาย เรื่อง การสวนล้างลำไส้ใหญ่ ( ยาเม็ดที่ 3) 15.30 น. รับประทานอาหารสุขภาพ 16.00 น. แช่มือแช่เท้าในน้ำสมุนไพร 16.30 น.ออกกำลังกาย กดจุดลมปราณ โยคะ การบริหารที่ถูกต้อง 17.00 น.ธรรมมะ ทำใจให้สบาย 5. วันเสาร์ ที่ 20 มษายน256214.00 น. ลงทะเบียน สมาชิก แลกเปลี่ยน ความรู้ ประโยชน์ของผักพื้นบ้าน 14.30 น.วิทยากรบรรยาย การรับประทานอาหารปรับสมดุลร่ายกาย( ยาเม็ดที่ 7) 15.30 น.รับประทานอาหารเพื่อปรับสมดุลร่างกาย 16.00 น.แช่มือแช่เท้าในน้ำสมุนไพร 16.30 น. ออกกำลังกาย กดจุลมปราณ โยคะ การบริหารที่ถูกต้อง 17.00 น. ธรรมะ ทำใจให้สบาย 6. วันเสาร์ ที่18พฤษภาคม 2562 14.00 น. ลงทะเบียนสมาชิก สมาชิกพร้อมเดินทางเยี่ยมชมสวนเกษตรพอเพียง สวนปิติ บางกล่ำ 17.00 น. เดินทางกลับถึงเคหะชุมชน โครงการ 2
7. วันเสาร์ที่15 มิถุนายน 2562 14.00 น. ลงทะเบียนสมาชิก สมาชิกพูดคุย ชักชวน ทำเกษตรพอเพียง ปลูกเพื่อทาน และแบ่งปัน
15.30 น.รับประทานอาหารเพื่อปรับสมดุลร่างกาย 16.00 น.แซ่มือแซ่เท้าในน้ำสมุนไพร 16.30 น.ออกกำลังกาย กดจุดลมปราณ โยคะ การบริหารที่ถูกต้อง 17.00 น.ธรรมะ ทำใจให้สบาย 8. วันเสาร์ ที่ 20 กรกฏาคม 256214.00 น.ลงทะเบียนสมาชิก
14.30 น.วิทยากรสาธิตการประกอบอาหารสุขภาพ และ สมาชิกร่วมประกอบอาหาร 15.30 น.รับประทานอาหารสุขภาพ 16.00 น.แซ่มือแซ่เท้าในน้ำสมุนไพร 16.30 น. ออกกำลังกาย กดจุดลมปราณโยคะ การบริหารที่ถูกต้อง 17.00 น.ธรรมะ ทำใจให้สบาย 9.วันเสาร์ที่ 17สิงหาคม 2562 14.00 น.ลงทะเบียนสมาชิก
14.30 น.สมาชิกนำอาหารที่ปรุงเองมาร่วมรับประทาน พร้อมทั้งอธิบายส่วนประกอบอาหาร ประโยชน์ที่ได้รับ 15.30 น. ร่วมรับประทานอาหารที่สมาชิกนำมา 16.00 น.แซ่มือแซ่เท้าในน้ำสมุนไพร 16.30 น.ออกกำลังกาย กดจุดลมปราณโยคะ การบริหารที่ถูกต้อง 17.00 น.ธรรมะ ทำใจให้สบาย
10.วันเสาร์ที่ 14 กันยายน 256214.00 น.ลงทะเบียนสมาชิก 14.30 น.วิทยากรสรุปเทคนิค 9 ข้อ พร้อมตอบข้อซักถามของสมาชิก วิทยากรนำเล่นเกม แจกของรางวัล 16.00 น. ประธานโครงการกล่าวปิดโครงการ


งบประมาณ

2.เริ่มโครงการครั้งที่ 1 ค่าวิทยากร. 600..บ.x1คน = 600 บ. ค่าอาหาร 50.บ.x.20.คน=1,000บ. ค่าสมุนไพรแช่มือแซ่เท้า 2 ห่อ= 80บ.
ค่ากาละมัง40 บ.x2คน=800 บ. ค่าเอกสารเทคนิค 9 ข้อ = 1,000 บ. . 3.โครงการครั้งที่ 2

ค่าวิทยากร. 600..บ.x1คน = 600 บ. ค่าอาหาร 50.บ.x.20.คน=1,000บ. ค่าสมุนไพรแช่มือแซ่เท้า 2 ห่อ= 80บ.
ค่าไม้กัวซา 20 บาทx20 คน=400บ. ค่าน้ำมันเขียว 3 ขวด=300 บ.
. 4.โครงการครั้งที่ 3 ค่าวิทยากร. 600..บ.x1คน = 600 บ. ค่าอาหาร 50.บ.x.20.คน=1,000บ. ค่าสมุนไพรแช่มือแซ่เท้า 2 ห่อ= 80บ.

5.โครงการครั้งที่ 4 ค่าวิทยากร. 600..บ.x1คน = 600 บ. ค่าอาหาร 50.บ.x.20.คน=1,000บ. ค่าสมุนไพรแช่มือแซ่เท้า 2 ห่อ= 80บ.

6.โครงการครั้งที่ 5 ค่ายานพาหนะชมสวนเกษตร = 3,000 บ. 7.โครงการครั้งที่ 6 ค่าอาหาร 50.บ.x.20.คน=1,000บ. ค่าสมุนไพรแช่มือแซ่เท้า 2 ห่อ= 80บ.

8.โครงการครั้งที่ 7 ค่าวิทยากร. 600..บ.x1คน = 600 บ. ค่าอาหาร 50.บ.x.20.คน=1,000บ. ค่าสมุนไพรแช่มือแซ่เท้า 2 ห่อ= 80บ.

9.โครงการครั้งที่ 8 ค่าอาหาร500บ. ค่าสมุนไพรแช่มือแซ่เท้า 2 ห่อ= 80บ.

10.โครงการครั้งที่ 9 ปิดโครงการ ค่าวิทยากร. 600..บ.x1คน = 600 บ. ค่าอาหาร 50.บ.x.20.คน=1,000บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
17160.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 17,610.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. สมาชิกมีสุขภาพกาย สุขภาพใจ แข็งแรง
2. สมาชิกสามารถเลือกทานอาหารได้อย่างถูกต้อง
3. เมื่อมีอาการไม่สบาย สามารถวินิจฉัยและรักษาตัวเองได้
4. สามารถนำเทคนิค 9 ข้อ ( ยา 9 เม็ด) มาใช้ในชีวิตประจำวันได้ และ แนะนำผู้อื่นให้ปฏิบัติได้
5. สามารถนำผลผลิตการเกษตรที่ปลูก มาทานและแลกเปลี่ยนกับเพื่อนบ้านได้


>