กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ ส่งเสริมพัฒนาทักษะสมอง EF

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโด

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโด

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาโด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ผู้ปกครองและเด็กไม่มีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมความฉลาดทางอารมณ์ และพัฒนาทักษะสมอง EF

 

160.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เด็กเล็กได้ฝึกทักษะสมอง EF โดยการใช้หนังสือนิทานเป็นสื่อ

ร้อยละ 100 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีมุมที่ส่งเสริมการรักการอ่านภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

80.00 80.00
2 2.เพื่อสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กและที่บ้าน

ร้อยละ 100 เด็กเล็กทุกคนต้องรับการฟังนิทานที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาด้าน EF

80.00 80.00
3 3.เพื่อส่งเสริมให้ครู พ่อแม่ผู้ปกครอง ชุมชน และภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมเด็กเข้าสู่โลกศตวรรษที่ 21

ร้อยละ 85 ครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาเด็ก

160.00 160.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ผู็ปกครองและเด็กศูนย์พัฒนาเด็กบ้านบาโด 160

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 13/06/2019

กำหนดเสร็จ 25/06/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เทคนิคในการเล่านิทานที่กระตุ้นความฉลาดทางอารมณ์ และพัฒนาทักษะสมอง EF

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เทคนิคในการเล่านิทานที่กระตุ้นความฉลาดทางอารมณ์ และพัฒนาทักษะสมอง EF
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เทคนิคในการเล่านิทานที่กระตุ้นความฉลาดทางอารมณ์ และพัฒนาสมอง EF ให้แก่พ่อแม่ อสม. ผู้สูงอายุ จัดหาสื่อที่เป็นนิทานสำหรับเด็กเล็กที่มีเนื้อหา น่าสนใจเหมาะสมที่ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอารมณ์ และพัฒนาสมอง EF จัดสภาพแวดล้อม มุมหนังสือหรือมุมนิทานให้น่าสนใจ กิจกรรมเล่านิทาน โดยให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง อสม.และผู้สูงอายุมาเล่านิทานให้กับเด็กเล็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก - ค่าอาหารว่างะร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 160 คนๆละ25 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 4,000 บาท - ค่าอาหาร จำนวน 160 คนๆละ 50 บาท 1 มื้อ เป็นเงิน 8,000 บาท - ค่าหนังสือนิทาน จำนวน 80 เล่มๆละ50 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท - ค่าวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ600 บาทเป็นเงิน1,200 บาท - ป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ ส่งเสริมพัฒนาทักษะสมอง EF ชนิดขาตั้ง จำนวน 1 ป้าย ขนาด 1.8X0.80 เมตร เป็นเงิน 1,200 บาท หมายเหตุ: รายการใดไม่พอจ่ายให้ถัวเฉลี่ยจากรายการอื่นได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาในพัฒนาการเด็ก เด็กมีพัฒนาการตามวัยและมีทักษะความฉลาดทางอารมณ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18400.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 18,400.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกิดทักษะสมอง EFโดยการใช้นิทานเป็นสื่อ
2.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีกระบวนการที่ส่งเสริมพัฒนาวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่บ้าน
3.ครู พ่อแม่ผู้ปกครอง ชุมชน และภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่โลกศตวรรษที่ 21


>