กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการนวดและประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

อสม.รพสต.บ้านลากอ

อสม.รพสต.บ้านลากอ

รพสต.บ้านลากอ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ทำให้สังคมวัฒนาธรรม ความเป็นอยู่ของสังคมเปลี่ยนไปมาก ผลของการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ก่อให้เกิดปัญหาในสังคมมากขึ้นทุกวันซึ่งประชาชนในชุมชนขาดความสนใจในภูมิปัญญาไทย และการดูแลสุขภาพเบื้องต้น เกี่ยวกับอาการปวดเมื่อยเจ็บป่วยต่างๆในการดูแลสุขภาพแบบแผนไทย ซึ่งการนวดแผนไทยถือเป็นภูมิปัญญาอันล้ำค่าของคนไทย ที่สืบทอดมาแต่โบราณและการใช้สมุนไพร ในการประคบลดอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย ลดการฟกช้ำ ทำให้การไหลเวียนของเลือดลมดีขึ้น ลดรายจ่ายไม่จำเป็น และป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ผุ้เข้ารับการอบรมมีความรุ้เกี่ยวกับภุมิปัญญาไทย

ร้อยละ 85 ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้

75.00 75.00
2 2.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนําความรู้ที่มีไปใช้อยา่งถูกวิธีและปลอดภัย

ร้อยละ 85 ผู้เข้าร่วมอบรม

75.00 75.00
3 2.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมนําความรู้ที่มีไปใช้อยา่งถูกวิธีและปลอดภัย

ร้อยละ 85 ผู้เข้าร่วมอบรม

75.00 75.00
4 3.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักวิธีการนวดทีถูกต้องและนําไปใช้ได้จริงชีวิตประจําวัน

 

75.00 75.00
5 3.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักวิธีการนวดทีถูกต้องและนําไปใช้ได้จริงชีวิตประจําวัน

ร้อยละ85 ผู้รับการอบรมมีความรู้

75.00 75.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 75
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการนวดและประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
โครงการนวดและประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.ขั้นดำเนินการ 2.1 ดำเนินการโครงการ ประชาชนปฏิบัติการ ฝึกการนวด และ ทำลูกประคบสมุนไพร และ ประคบจาก วิทยากรตามลำดับการ 2.2 ผู้รับผิดชอบ ประเมิน และ สรุปผลการดำเนินโครงการ ทำสถิติเบื้อง 2.3 ขั้นการเมินผลโครงการ สังเกตจากความร่วมมือในการร่วมกิจกรรมของประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ประเมินจากการตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลยะหาจำนวน 22,200บาทรายละเอียดดังนี้ 1. ค่าไวนิล ชื่อโครงการจำนวน 1 ผืนๆละ800 บาทเป็นเงิน800บาท 2. ค่าวิทยากร5ชม.ๆละ 600บาทเป็นเงิน 3,000บาท 3. ค่าวัสดุในการจัดอบรมเป็นเงิน2,000 บาท 4. ค่าอาหารกลางวันสำหรับ ผู้รับการอบรม วิทยากร และผู้จัดอบรม(เจ้าหน้าที่)โครงการนวดและประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ในเขต รพ.สต.บ้านลากอ จำนวน71 คน * 50 บาท* 1 มื้อเป็นเงิน3,550 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับ ผู้รับการอบรม วิทยากร และผู้จัดอบรม(เจ้าหน้าที่)โครงการนวด และประคบสมุนไพรเพื่อสุขภาพ ในเขต รพ.สต.บ้านลากอ จำนวน 71 คน * 25 บาท * 2 มื้อเป็นเงิน 3,550 บาท เป็นเงิน 7,100 บาท - ค่าครุภัณฑ์ กระทะนึ่งลูกประคบ 3 ลูกๆละ 900*3 เป็นเงิน 2,700 บาท 5. ค่าวัสดุและอุปกรณ์ทำลูกประคบ เหง้าไพล เป็นเงิน 900 บาท ผิวมะกรูดเป็นเงิน 500 บาท ตะไคร้เป็นเงิน 200 บาท ขมิ้นชั้นเป็นเงิน 1,200 บาท การบูร เป็นเงิน 1,000 บาท พิมเสน เป็นเงิน 1,000 บาท ใบมะขามเป็นเงิน 300 บาท ผ้าดิบเป็นเงิน 1,000 บาท เชือกมัด เป็นเงิน 500 บาท เป็นเงิน6,600 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น22,200บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เพื่อให้ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทย 2.เพื่อให้ ผู้เข้ารับการอบรมนำความรู้ที่มีไปใช้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย 3.เพื่อให้ ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักวิธีการนวดที่ถูกต้องและนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน 4.เพื่อให้ ผู้เข้ารับการอบรมรู้จักการใช้สมุนไพรในการรักษาสุขภาพแบบภูมิปัญญาไทย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,200.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้ไปใช้อย่างถูกวิธีมีความปลอดภัยต่อสุขภาพประชาชนมี
2. ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้ไปดูแล สุขภาพเบื้องต้นให้กับตนเอง และ ครอบครัว
3. ผู้เข้ารับการอบรม นำความรู้ไปดูแลฟื้นฟูสุขภาพให้กับผู้ป่วยอัมพฤกษ์ – อัมพาตได้
4. สามารถอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญาการนวดไทย และ สมุนไพรไทย สืบทอดคงอยู่ต่อไป


>