กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการการป้องกันโรคติดเชื้อในสถานศึกษาตำบลยะหา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา

โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา

สถานศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 5แห่ง ตำบลยะหา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคติดต่อเป็นโรคที่ต้อวเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันไม่ให้มีการแพร่กระจ่าย การป้องกันโรคติดเชื้อในสถานศึกษา นับว่าเป็นสิ่งสำคัญเพราะในสถานศึกษามีกลุ่มคนเป็นกลุ่มก้อน เมื่อมีโรคระบาดหรือโรคติดต่อจะทำให้กระทบกับระบบการเรียนการสอน และจะต้องหยุดเรียนเป็นเวลานาน

 

400.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ กับนักเรียนและคุณครูที่ดูแลสุขภาพนักเรียนและเพื่อการควบคุมป้องกันโรคติดเชื้อในสถานศึกษา
  1. มีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อในสถานศึกษา
400.00 350.00
2 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อหรือโรคติดเชื้อในกลุ่มวัยเด็กอายุ 0-12 ปี
  1. อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน หรือโรคอาหารเป็นพิษในระดับอำเภอน้อยกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง
  2. ไม่พบอัตราอุบัติการณ์การระบาดในสถานศึกษาเกี่ยวกับโรคสุกใส โรคมือเท้าปาก โรคตาแดง
400.00 350.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 400
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2019

กำหนดเสร็จ 31/07/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้การป้องกันโรคติดเชื้อในสถานศึกษา

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้การป้องกันโรคติดเชื้อในสถานศึกษา
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. การประเมินพฤติกรรมและความรู้ของนักเรียน และคุณครูในสถานศึกษา ก่อนดำเนินโครงการ
  2. การลงพื้นที่ทำกิจกรรมในโรงเรียนในแต่ละโรงเรียน จำนวน 8 โรงเรียน (1) การให้ความรู้เป็นฐานการเรียนรู้ จำแนกรายโรค
    • โรคสุกใส
    • โรคมือเท้าปาก
    • โรคตาแดง
    • โรคอุจจาระร่วง (2) การส่งเสริมพฤติกรรมที่ดีให้กับนักเรียนสำหรับนักเรียนในกลุ่มนักเรียน และคุณครูอนามัยโรงเรียน
  3. การประเมินความรู้และพฤติกรรมด้านสุขภาพหลังดำเนินกิจกรรมดังนี้ -ประเมินจากแบบสอบถามความรู้และพฤติกรรม
  4. สรุปและประเมินผลโครงการ

งบประมาณกิจกกรมจัดอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคติดเชื้อในแต่ละโรงเรียน จำนวน 8 โรงเรียนโรงเรียนละ 50 คน จำนวน 400 คน
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 400 คน x 25 บาท x 2 มื้อ - ค่าอาหาร 1 มื้อๆ ละ 50 บาท x400 คน เป็นเงิน 40,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • นักเรียนระดับ ประถมศึกษา ร้อยละ 80 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมดที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความเข้าใจและสามารถปฏิบัติตัวถูกต้องในการดูแลสุขภาพ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
40000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 40,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ลดความเสี่ยงการระบาดของโรคติดต่อและภัยสุขภาพในสถานศึกษาและชุมชน
2. เครือข่ายชุมชนเกิดความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษาและชุมชน
3. ลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อหรือโรคติดเชื้อในกลุ่มวัยเด็กอายุ 0-12 ปี


>