กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ อสม.รุ่นใหม่ ใส่ใจสุขภาพช่องปาก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา

1 …นายสมาน กอลำเบอร์โทร 081-9634962
2 …นางสาวฟาซียะห์ แวอาลีมาแย เบอร์โทร …089-2994970

องค์การบริหารส่วนตำบลบานา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันปัญหาทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่งซึ่งได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นอันเนื่องมาจากปัจจัยหลายๆอย่างการเปลี่ยนแปลงของการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันที่อาศัยความสะดวกสบายเน้นความรวดเร็วเช่นการบริโภคอาหารโครงสร้างของอาหารที่เปลี่ยนไปขนมกรุบกรอบติดขี้ฟันง่ายขึ้นซึ่งบมีผลต่อการดูแลรักษาสุขภาพช่องปาก ทั้งรูปแบบของการดูแลเลี้ยงดูเด็กในด้านต่างๆทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพช่องปากต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากดีขึ้น

ร้อยละ  80  ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีคะแนนความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้นหลังจากอบรมให้ความรู้

0.00
2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถให้ทัตสุขศึกษาเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากประชาชนได้อย่างถูกต้อง

ร้อยละ  80  ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีคะแนนการให้ทัตสุขศึกษาผ่านเกณฑ์กำหนด

0.00
3 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถตรวจสุขภาพช่องปากประชาชนเบื้องต้นได้

ร้อยละ  80  ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นได้

0.00
4 เพื่ออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและสะอาด

ร้อยละ  80 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและสะอาด

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 105
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 13/03/2019

กำหนดเสร็จ 14/03/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เรื่องอเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากดีขึ้น

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องอเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากดีขึ้น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวัน

1.1 เจ้าหน้าที่50 บาทX 10คนX 2วันเป็นเงิน1,000.-บาท

1.2 ผู้เข้าร่วมการอบรม 50 บาทX 105คนX 2วันเป็นเงิน10,500.-บาท

2.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม

2.1 เจ้าหน้าที่25 บาทX 10คนX 2วันเป็นเงิน1,000.-บาท

2.2 ผู้เข้าร่วมการอบรม 25 บาทX 105คนX 2วันเป็นเงิน10,500.-บาท

3.ค่าป้ายโครงการ1X3เมตรเป็นเงิน 750.-บาท

4.ค่าชุดเอกสารประกอบในการอบรม105 ชุดX50บาทเป็นเงิน5,250.-บาท

5.ค่าชุดmodel ในการสอนแปรงฟัน 11ชุด (หมู่ละ1ชุด )X750เป็นเงิน8,250.-บาท

6.ค่าเข็มกลัดอสม. ทันตสุขภาพชิ้นละ 50บาทจำนวน105 ชิ้น เป็นเงิน5,250.-บาท

7.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดอบรม เป็นเงิน2,000.-บาท

8.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการแปรงฟันชุดละ50บาทจำนวน150 ชิ้นเป็นเงิน5,250.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
49750.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 49,750.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากดีขึ้น
2.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถให้ทัตสุขศึกษาเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากประชาชนได้อย่างถูกต้อง
3.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถตรวจสุขภาพช่องปากประชาชนเบื้องต้นได้
4.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและสะอาด


>