กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการขับขี่ปลอดภัย สร้างวินัยจราจร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเขา

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลบางเขา

ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลบางเขา (ชัวคราว)

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานความปลอดภัยทางถนน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

อุบัติเหตุทางถนนเป็นปัญหาสำคัญที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ การสูญเสียชีวิตของผู้ใช้รถใช้ถนน
และสร้างความสูญเสียต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศชาติ ซึ่งรัฐบาลได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงประกาศให้ปี พ.ศ. 2554 – 2563เป็นทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนนของประเทศไทย
ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับว่าปัญหาจราจร เป็นปัญหาที่ต้องอาศัยระยะเวลาในการแก้ไขโดยจะต้องอาศัยความร่วมมือและร่วมกันทำงานไปพร้อมๆกัน และจัดทำโครงการอบรมเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ และปลูฝังวินัยจราจรรวมทั้งการใช้รถใช้ถนนอย่างปลอดภัยให้แก่ประชาชนและผู้ใช้รถ ใช้ถนนทั่วไปในพื้นที่รับผิดชอบเนื่องจากสภาพการใช้รถใช้ถนนในปัจจุบันมีปัญหาเกิดขึ้นหลายประการดดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจากการใช้รถใช้ถนนซึ่งเกิดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนซึ่งมีสาเหตุสำคัญหลายประการ กล่าวคือ ผู้ใช้รถใช้ถนนส่วนใหญ่ ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฏหมายจราจร ระเบียบข้อบังคับต่างๆ ขาดจิตสำนึกรับผิดชอบ ขาดมารยาทและวินัยในการขับขี่ ซึ่งการใช้มาตรการทางกำหมายเพียงอย่างเดียวไม่สามารถลดอัตราความสูญเสียที่เกิดขึ้นได้

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในกฎจราจรดีขึ้นเป็นอย่างดี และ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่น (หรือผู้ฝ่าฝืนกฎจราจร) ให้เห็นความสำคัญของวินัยจราจรและปฏิบัติอย่างถูกต้อง

 

0.00
2 เพื่อปลูกจิตสำนึกความปลอดภัยทางถนนและเสริมสร้างวินัยจราจร

 

0.00
3 เพื่อฝึกความมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ลดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินจากอุบัติเหตุทางถนน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 40 คนๆละ 70 บาท เป็นเงิน 2,800.-บาท
  • ค่าอาหารว่าและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คนๆละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,000.-บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600.-บาท
  • ค่าจัดซื้อของขวัญ จำนวน 15 ชิ้นๆละ 220 บาท เป็นเงิน 3,300.-บาท
  • ค่าวัสดุ จำนวน 40 คนๆละ 45 บาท เป็นเงิน 1,800.-บา
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในกฎจราจรดีขึ้นเป็นอย่างดี และ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปแนะนำให้แก่บุคคลอื่น (หรือผู้ฝ่าฝืนกฎจราจร) ให้เห็นความสำคัญของวินัยจราจรและปฏิบัติอย่างถูกต้อง
2.ผู้เข้ารับการอบรมมีจิตสำนึกความปลอดภัยทางถนนและเสริมสร้างวินัยจราจร
3.ผู้เข้ารับการอบรมมีระเบียบให้เกิดขึ้นในชุมชน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ลดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินจากอุบัติเหตุทางถนน


>