แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
รหัส กปท.
อำเภอ จังหวัด
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2562 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
หลักการและเหตุผล เหา หรือ Louse เป็นแมลงชนิดหนึ่งที่เป็นปรสิต (Parasite) ต้องอาศัยบนร่างกายคน หรือสัตว์ และดำรงชีวิตโดยการดูดเลือดเป็นอาหารสามารถแพร่กระจายจากคนหนึ่งไปสู่คนหนึ่งได้โดยการอยู่ใกล้ชิดกัน อาการหลัก คือ อาการคัน ส่วนปัญหาสำคัญของผู้เป็นเหาคือ อาจกลายเป็นที่รังเกียจของสังคม การติดเหา สามารถเกิดขึ้นได้ในคนทุกเชื้อชาติ โดยทั่วโลกพบผู้ที่เป็นเหามากกว่าร้อยล้านคนต่อปี และพบอัตราการเป็นเหาทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและในประเทศด้อยพัฒนาไม่แตกต่างกันนัก โดย เหาที่ศีรษะ (Pediculushumanuscapitisหรือ Pediculosiscapitis) พบได้ในคนทุกระดับตั้งแต่ฐานะยากจน กระทั่งฐานะร่ำรวย และมักพบในวัยเด็ก การเป็นเหาในเด็กนักเรียนนับว่าเป็นปัญหาสำคัญสำหรับประเทศไทย เนื่องจากอาการหลักคืออาการคันที่ศีรษะ ซึ่งเกิดจากร่างกายมีปฏิกิริยาต่อการกัดของเหาที่หนังศีรษะเวลาดูดเลือด และจะคันมากในช่วงกลางคืน เพราะเหามักดูดเลือดในช่วงนี้ ทำให้เด็กมีปัญหานอนหลับไม่สนิท และอาจส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ได้นอกจากนี้การเกาหนังศีรษะอย่างมากอาจทำให้เกิดการอักเสบและติดเชื้อเรื้อรังได้ และตัวเหายังเป็นพาหะนำโรคได้หลายโรค เช่น ไข้รากสาดใหญ่ชนิด Epidemic typhus โรคไข้เทรนซ์ (Trench fever) และโรคไข้กลับ (Relapsing fever) เป็นต้นการรักษาเหาสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การใช้ยาเบนซิลเบนโซเอต ๒๕% การใช้ยาน้ำแขวนตะกอนสีขาวขุ่นและการใช้สมุนไพรรักษา เช่น เมล็ดหรือใบน้อยหน่า ซึ่งการใช้ยาสมุนไพรเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และเป็นการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์อีกด้วย จากการตรวจสุขภาพของนักเรียนระดับอนุบาล ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ในตำบลปูโยะอำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส พบว่า มีเด็กนักเรียนเป็นเหาร้อยละ ๔๖.๐๒ ซึ่งการเป็นเหาในเด็กวัยเรียนมีโอกาสหายค่อนข้างยาก และมีโอกาสติดโรคซ้ำ เนื่องจากภายในโรงเรียนมีเด็กนักเรียนเป็นจำนวนมากจึงมีการติดต่อโดยง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโดยการใกล้ชิดหรือใช้ของร่วมกัน ทำให้เหาเพิ่มจำนวนและขยายพันธ์อย่างรวดเร็วได้ตลอดปี จึงได้จัดทำโครงการเด็กวัยเรียนตำบลปูโยะ เหาตายสบายศีรษะ โดยใช้น้ำยาสกัดจากใบน้อยหน่าขึ้น เพื่อลดโรคเหาในเด็กนักเรียน และเพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ในการป้องกัน และรักษาโรคเหาเพิ่มขึ้น
- 1. กิจกรรมที่ 1 การตรวจคัดกรองนักเรียนที่เป็นเหา กิจกรรมที่ 2 การอบรมให้ความรู้กับเด็กนักเรียนและผู้ปกครองรายละเอียด
- กิจกรรมกำจัดเหาในเด็กนักเรียนสมุนไพรกำจัดเหา
- ค่าจัดซื้อวัสดุจัดทำน้ำยาสมุนไพรกำจัดเหา จำนวน500คนx40 บาท x 4 ครั้ง
เป็นเงิน 40,000.- บาท - ค่าจัดซื้อหวีเสนียดจำนวน500 อัน x 10 บาท เป็นเงิน 5,000.- บาท
- ป้ายไวนิลโครงการฯ 1ผืน x 1,000บาท เป็นเงิน1,000.- บาท
- ค่าวัสดุสำนักงานเป็นเงิน200.-บาท รวมเป็น46,200.-บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 46,200บาท (สี่หมื่นหกพันสองร้อยบาทถ้วน ) หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยรายจ่ายได้
- ค่าจัดซื้อวัสดุจัดทำน้ำยาสมุนไพรกำจัดเหา จำนวน500คนx40 บาท x 4 ครั้ง
งบประมาณ 46,200.00 บาท - กิจกรรมกำจัดเหาในเด็กนักเรียนสมุนไพรกำจัดเหา
ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
รพ.สต.มูโนะ
รวมงบประมาณโครงการ 46,200.00 บาท
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
รหัส กปท.
อำเภอ จังหวัด
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
รหัส กปท.
อำเภอ จังหวัด
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................