กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการคนพิการยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ตำบลคอลอตันหยง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คอลอตันหยง

กลุ่มจิตอาสาสมัครสาธารณสุข

1. นางสาวปาตีเมาะ ระโอะ
2. นางนินาดียะห์ ซาหะ
3. นางสาวไรนะ เจะหะ
4. นายต่วนเซ๊ะ ตุแวจาโก
5. นางสาวราชาวดี อาแวกือจิ

องค์การบริหารส่วนตำบลคอลอตันหยง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานคนพิการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันนี้ปัญหาด้านเศรษฐกิจเข้าสู่ภาวะวิกฤติ ทำให้ผลกระทบต่อบุคคลทั่วไปรวมทั้งคนพิการที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และคนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ขาดผู้ดูแล (care giver) ในครอบครัวและในชุมชน เพราะผู้คนต่างดิ้นรนออกไปหากินนอกบ้าน จึงเป็นภาวะต่อครอบครัวที่ต้องดูแลด้านต่างๆ ให้กับคนพิการ ส่วนหนึ่งผู้ดูแลคนพิการยังขาดความรู้เข้าใจในการดูสุขภาพ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกายอาการไม่ทุเลา และเกิดภาวะแทรกซ้อน ด้านจิตใจ ทำให้ผู้พิการบางคนมีความรู้สึกท้อแท้ เหนื่อยหน่ายต่อชีวิตขาดกำลังใจในการดำรงชีวิต บางคนถึงกับไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป นอกจากนั้นคนพิการบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจด้านหลักประกันสุขภาพหรือระเบียบอันเป็นสิทธิประโยชน์ โดยเฉพาะสิทธิประโยชน์ในด้านการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ถึงแม้ว่าปัจจุบันรัฐบาลจะได้กำหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับการดูแลคนพิการ แต่ก็มิได้เป็นหลักประกันว่าจะทำให้คนพิการ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เนื่องจากคนพิการมีเพิ่มมากขึ้น และงบประมาณที่ค่อนข้างจำกัด จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น เพื่อเป็นการช่วยเหลือคนพิการ ซึ่งถือว่าเป็นผู้ด้อยโอกาสในสังคม
กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลคอลอตันหยง จึงจัดโครงการคนพิการยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลคอลอตันหยงขึ้น เพื่อให้คำปรึกษา คำแนะนำด้านสุขภาพ ซึ่งได้เข้ามามีส่วนในการดูแลสร้างความเชื่อมั่น สร้างขวัญกำลังใจ โดยการให้ความรู้ ทำความเข้าใจกับผู้ดูแลให้มากขึ้น เพื่อให้ผู้พิการไม่รู้สึกโดดเดี่ยว และมีกำลังใจพร้อมที่จะต่อสู้กับชีวิตด้วยสุขภาพจิตที่ดี จึงได้จัดทำโครงการคนพิการยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ตำบลคอลอตันหยง ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้คนพิการมีความรู้ในการดูแลสุขภาพในชีวิตประจำวัน

 

60.00
2 เพื่อให้คนพิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง

 

60.00
3 เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลคนพิการ

 

60.00
4 เพื่อเป็นขวัญกำลังใจให้กับคนพิการ

 

60.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 08/03/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 คัดเลือกคนพิการที่ประสงค์เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
คัดเลือกคนพิการที่ประสงค์เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ดำเนินงานตามโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินงานตามโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ตรวจสุขภาพเบื้องต้นของคนพิการ และอบรมให้ความรู้แก่คนพิการและผู้ดูแลคนพิการ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1. ค่าอาหารว่าง (60 คน x 25 บาท/คน x 2 มื้อ)เป็นเงิน 3,000.-บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน (60 คน x 50 บาท/คน x 1 มื้อ)เป็นเงิน 3,000.-บาท 3. ค่าวัสดุอุปกรณ์ฝึกอบรม (60 คน x 60 บาท) เป็นเงิน 3,600.-บาท 4. ค่าตอบแทนวิทยากร (1 คน x 3 ชม.ๆ ละ 600 บาท) เป็นเงิน 1,800.-บาท 5. ค่าป้ายไวนิล (ขนาด 1 x 3 เมตร) เป็นเงิน 750.-บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12150.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,150.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. คนพิการมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขภาพส่งเสริมการดูแลสุขภาพกายและจิต
2. ผู้ดูแลมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลคนพิการ
3. ช่วยให้คนพิการมีความเชื่อมั่นในคุณค่าของตัวเอง และสร้างขวัญและกำลังใจให้กับคนพิการ


>