กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ชาวจะแหนสุขภาพดี ด้วยวิถีแผนไทย ใส่ใจสุขภาาพให้ยั่งยืน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะแหน

ประธานอาสาสมัครแพทย์แผนไทย

นางมารียำ ยะเล๊าะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังโอ๊ะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การแพทย์แผนไทยปัจจุบัน ได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาล ให้เป็นการแพทย์ทางเลือกย่างหนึ่ง ได้แก่ การนวด, การอบ และการประคบ ซึ่งเป็นวิถีของประชาชนในพื้นที่ที่มีความเชื่อและความผูกพันกับวิธีการดูแลตนเอง โดยอาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งมีอยู่มากมายในชุมชนอาทิเช่น การใช้สมุนไพรในการรักษาพยาบาล การใช้หลักความเชื่อทางศาสนาในการรักษาดูแลตนเองซึ่งสืบทอดมาหลายชั่วอายุคน อีกทั้งสาเหตุการเจ็บป่วยของประชาชนในพื้นที่ เกิดจากการประกอบอาชีพประจำวันเป็นส่ววนมาก และมีบางส่วนที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง, อัมพฤษ์ และอัมพาต เป็นต้น ในปัจจุบันพบว่าประชาชนในพื้นที่ตำบลจะแหนมีปัญหาด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ซึ่งการนวดเป็นการช่วยรักษาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้อีกทั้งยังเป็นการช่วยลดการใช้ยาแก้ปวด ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพของตนเอง และช่วยเกื้อกูลกันเองในครอบครับ จากการช่วยเหลือกันเองภายในครอบครัว ยัสามารถช่วยเหลือเพื่อนบ้านเพื่อสร้างสัมพัธภาพที่ดีต่อกันได้ด้วย เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย และ เพื่อเป็รการสนับสนุนการใช้สมุนไพรในการส่งเสริมสุขภาพ จึงส่งเสริมการใช้สมุนไพร โดยสาธิตการทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร เพื่อประยุกต์ใช้ต่อประชาชนในพื้นที่ตำบลจะแหน
ดังนั้น กลุ่มแพทย์แผนไทยอาสาตำบลจะแหน ได้เล้งเห็นความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการชาวจะแหนสุขภาพดี ด้วยวิถีแผนไทย ใส่ใจสุขภาพให้ยั่งยืน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

๑. เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของมารดาหลังคลอดและทารก
๒. เพื่อให้การดูแลมารดาหลังคลอดด้วยแพทย์แผนไทยร่วมกับภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน
๓. เพื่อให้ตะหนักถึงประโยชน์ของการฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอด และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 24/05/2019

กำหนดเสร็จ 24/05/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น

ชื่อกิจกรรม
ดูแลมารดาหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดทำโครงการเสนอขออนุมัติ
  2. จัดประชุมชี้แจงคณะทำงาน ทีมอาสาสมัครแพทย์แผนไทย
  3. จัดทำหนังสือการประชุม เชิญวิทยากร ชิญผู้เข้าร่วมการอบรมฟื้นฟูความรู้แพทย์แผนไทย
  4. จัดอบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องการแพทย์แผนไทย 4.1 อบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องการนวดแผนไทยและการดูแลตนเองเบี้องต้นโดยใช้การแพทย์แผนไทย 4.2 อบรมการทำยาสมุนไพรเพื่อส่งเสริมสุขภาพการผลิตยาสมุนไพร เพื่อบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ และบรรเทาการอับเสบของกล้ามเนื้อ โดยใช้สมุนไพร
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการปฏิบัติตัวและการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.ประชาชนที่ผ่านการอบรมมีความรู้แพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น
3. ประชาชนมีการใช้สมุนไพรที่มีในพื้นที่ในการดูแลสุขภาพและให้เกิดประโยชน์สูงสุด


>