กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในตำบลมะนังยง ปีงบประมาณ 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง

รพ.สต.มะนังยง

รพ.สต.มะนังยง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สมารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน , ความเครียด, ขาดการออกกำลังกาย, การบริโภคอาหารไม่ถูกส่วน การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น คือ 35 ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น ปัจจุบันจำนวนประชากรในตำบลมะนังยงมีผู้ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง แบ่งเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 324 คน โรคเบาหวานจำนวน 20 คน และโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน 458 คน ในจำนวนนี้มีคนไข้ที่แพทย์ได้ส่งต่อมารับยาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง จำนวน 84 คน ซึ่งเป็นคนไข้ที่สามารถคุมระดับเบาหวานและระดับของความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะนังยง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลประชาชนตำบลมะนังยง ให้เกิดความตระหนักและเข้าใจ ที่มาที่ไปของโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเพื่อที่จะได้ป้องกันและดูแลตนเองไม่ให้เป็นโรค จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในตำบลมะนังยง ขึ้นเพื่อเป็นศูนย์กลางและตัวกลางในการแลกเปลี่ยน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตำบลมะนังยง เกิดความตระหนัก ในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งพา ตนเองได้ 1.2 เพื่อให้ประชาชนตำบลมะนังยง สามารถ รู้สภาวะสุขภาพของตนเอง และดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง 1.3 เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนตำบลมะนังยง
  1. ประชาชนตำบลมะนังยงเกิดความตระหนัก ในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งพา ตนเองได้
  2. ประชาชนตำบลมะนังยงสามารถ รู้สภาวะสุขภาพของตนเอง และดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
  3. เกิดความต่อเนื่องในการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนตำบลมะนังยง
0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 26/06/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คักรองความดันโลหิตสูง เบาหวานและให้ความรู้ในการดูแลตัวเอง

ชื่อกิจกรรม
คักรองความดันโลหิตสูง เบาหวานและให้ความรู้ในการดูแลตัวเอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

2.1 ชั่งน้ำหนัก, วัดส่วนสูง, วัดความดันโลหิต, วัดรอบเอว, วัดรอบสะโพก, เจาะน้ำตาลในเลือด และทำแบบสัมภาษณ์ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง ในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปทุกคน
2.2 สาธิตการจัดการเมนูอาหาร ตามหลักโภชนาการ และเน้นหลัก 3อ 2ส 2.3 ติดตาม เยี่ยมบ้านในกลุ่มเสี่ยงสูง โดยเจ้าหน้าที รพสต.มะนังยง และ อสม อย่างต่อเนื่อง 2.4 สรุปและประเมินผลโครงการ เสนอรายงานกองทุนหลังประกันสุขภาพตำบลมะนังยง จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยงจำนวน 26,900 บาทรายละเอียดดังนี้ - ค่าเจาะน้ำตาลในเลือด (DTX) 15 บาท × 200 คน เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าอาหารว่าง 25 บาท × 200 คน ×2 มื้อ เป็นเงิน 10,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท × 200 คนเป็นเงิน 10,000 บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ขนาด 1.5 เมตร × 4 เมตร เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าวิทยากร 2 ท่านชั่วโมงละ 600 บาท x 4 ชั่วโมงเป็นเงิน 2,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
26900.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 26,900.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนตำบลมะนังยงเกิดความตระหนัก ในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งพา ตนเองได้
2. ประชาชนตำบลมะนังยงสามารถ รู้สภาวะสุขภาพของตนเอง และดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
3. เกิดความต่อเนื่องในการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนตำบลมะนังยง


>