กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ “ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม”ตำบลบูกิต ประจำปี 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต

ชื่อกลุ่ม ชุมชมสร้างสุขภาพตำบลบูกิต
1. นส.ตูแวฮาปีซา ตูแวบราเฮ็ง

2. นางสาวซาลีนา ยูโซ๊ะ

3. นางฮาซูนีอูเซ็ง

4. นางสาวฮานี สะนิ

5. นางสาวซารีนา ขอยาแม

พื้นที่ตำบลบูกิต หมู่ที่ 5

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

 

100.00
2 ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)

 

2.00

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้น และ สิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะมูลฝอย ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นชุมชนจัดเป็นแหล่งสำคัญหนึ่งที่ผลิตของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม แม้ว่าขยะจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือนจะไม่ใช่ของเสียที่เป็นอันตราย เมื่อเปรียบเทียบกับของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหรือการเกษตรกรรม แต่ถ้ามีปริมาณมากก็ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อมได้ โดยเฉพาะขยะมูลฝอยจากชุมชนหรืออาคารบ้านเรือน ขยะที่สามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติ ขยะที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ (recycle) ขยะประเภทวัสดุเหลือใช้ ขยะที่อาจเป็นอันตรายอันเนื่องมาจากสารพิษ เป็นต้น ซึ่งการแก้ปัญหาขยะมูลฝอยในพื้นที่และกลไกเพื่อการคัดแยกขยะ แปรรูปขยะเป็นพลังงานด้วยนวัตกรรมที่เหมาะสมกับพื้นที่ และเป็นการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและลดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคต่างๆ
กล่มชุมชนสร้างสุขภาพตำบลบูกิต จึงได้จัดโครงการ โครงการ “ลดขยะ ลดโรค ใส่ใจสิ่งแวดล้อม”ตำบลบูกิต ขึ้น การจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม จึงจัดให้มีระบบการจัดการขยะในชุมชนภายใต้แนวคิด แยกก่อนทิ้งเพื่อให้ประชาชนและชุมชนส่งเสริมการดำเนินการตามหลัก 3 Rs ได้แก่ การลดการใช้(Reduce) การใช้ซ้ำ(Reuse)และการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนและชุมชน ได้ตระหนักและรับรู้ถึงความจำเป็น ในการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะและเป็นการลดปริมาณขยะที่มีประสิทธิภาพ และป้องกันปัญหาการเกิดมลพิษ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งยังส่งเสริมให้แต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะที่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพื่อไม่ให้ขยะดังกล่าวตกค้าง ทำให้ชุมชนสะอาด น่าอยู่ และไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์โรคจากขยะในชุมชน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ

จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)

100.00 50.00
2 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน

ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)

2.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะ แยกก่อนทิ้ง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะ แยกก่อนทิ้ง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์โครงการ การจัดการขยะ แยกก่อนทิ้ง

  • ลงพื้นที่ รับสมัครและเชิญชวนผู้เข้าร่วมโครงการ

  • จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

งบประมาณ

  • ค่าป้ายไวนิลรรรงค์ ประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1 x 3เมตร= 750 บาท

  • ค่าถ่ายเอกสารประกอบการประชาสัมพันธ์= 750บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนในพื้นได้รับทราบ เกี่ยวการกำจัดขยะ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1500.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้การจัดการขยะและการการแยกขยะ และสาธิตการแยกขยะชนิดต่างๆ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้การจัดการขยะและการการแยกขยะ และสาธิตการแยกขยะชนิดต่างๆ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้การจัดการขยะและการการแยกขยะและสาธิตการแยกขยะชนิดต่างๆ

  • การจัดการขยะและการการแยกขยะเปียก

  • การจัดการขยะและการการแยกขยะทั่วไป

  • การจัดการขยะและการการแยกขยะรีไซเคิล

  • การจัดการขยะและการการแยกขยะอันตราย

และมีการสาธิตการจัดการขยะแต่ละชนิด

งบประมาณ

  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 60 บาท x 1 มื้อ = 3,000 บาท

  • ค่าอาหารว่าง+เครื่องดื่ม จำนวน 50 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 2,500 บาท

  • กระเป๋า 50 ชุด x 50 บาท = 5,600 บาท

  • ค่าวิทยากร 1 คน x5 ชม. X 600 บาท = 3,000บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ร่วมโครงการได้รับความรู้  และสามารถจัดการขยะแต่ลัชนิดได่้

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,500.00 บาท

หมายเหตุ :
1. เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ

2. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนทราบ

- กิจกรรมรณรงค์ ประชาสัมพันธ์โครงการ การจัดการขยะ แยกก่อนทิ้ง

- ลงพื้นที่ รับสมัครและเชิญชวนผู้เข้าร่วมโครงการ

- จัดทำทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ

3. อบรมให้ความรู้การจัดการขยะและการการแยกขยะและสาธิตการแยกขยะชนิดต่างๆ

- การจัดการขยะและการการแยกขยะเปียก

- การจัดการขยะและการการแยกขยะทั่วไป

- การจัดการขยะและการการแยกขยะรีไซเคิล

- การจัดการขยะและการการแยกขยะอันตราย

- และมีการสาธิตการจัดการขยะแต่ละชนิด

7. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบล บูกิต

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ชุมชนมีจิตสำนึกในการใช้หลักการแยกก่อนทิ้ง

2. ประชาชนในครัวเรือนที่เข้าอบรมสามรถแยกขยะถูกต้อง

3. สิ่งแวดล้อมในชุมชนน่าอยู่ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตลดลง


>