กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ปี 2562

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะบ้า

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะสะบ้า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตัวเองในระยะตั้งครรภ์ได้ 2.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 3.หญิงตั้งครรภ์ไม่เกิดภาวะซีดระหว่างตั้งครรภ์และหยิงตั้งครรภ์ที่พบภาวะซีดได้รับการแก้ไขไม่พบภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์และคลอด 4.แกนนำอนามัยแม่และเด็กมีความรู้และความสามารถให้การแนะนำแก่หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดให้มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม

1.หญิงตั้งครรภ์รายใหม่รับบริการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์มากกว่าร้อยละ 60 2.หญิงตั้งครรภ์ รับบริการฝากครรภ์ตามนัดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 60 3.หญิงตั้งครรภ์ซีดระหว่างตั้งครรภ์น้อยกว่าร้อยละ 10 4.แกนนำมีความรู้หลังการอบรมร้อยละ 80

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 108
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2019

กำหนดเสร็จ 30/06/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 โครงการฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ปี 2562

ชื่อกิจกรรม
โครงการฝากครรภ์คุณภาพ เพื่อมารดาและทารกสุขภาพดี ปี 2562
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดประชุมแกนนำอนามัยแม่และเด็ก เพื่อค้นหาปัญหาเกี่ยวกับงานอนามัยแม่และเด็ก 2.แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อดำเนินโครงการ 3.แกนนำอนามัยแม่และเด็ก จัดทำมาตรฐานการดูแลในขณะตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอดเพื่อพัฒนาตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก 4.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำอนามัยแม่และเด็ก เพื่อพัฒนาศักยภาพ 5.ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทราบ 6.กำหนดให้แกนนำอนามัยแม่และเด็ก สำรวจและติดตามหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 7.จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ก่อน 28 สัปดาห์ในรูปแบบของโรงเรียนพ่อแม่ (หญิงตั้งครรภ์จำนวน 80 คน -สามีหรือผู้ดูแลหญิงมีครรภ์จำนวน 80คน) 8.จัดอบรมหญิงวัยเจริญพันธ์ตามนโยบายหญิงไทยแก้มแดงจำนวน 50 ราย 9.แกนนำอนามัยแม่และเด็ก ออกติดตาม ดูแลหญิงตั้งครรภ์ คลอดปละหลังคลอด ที่มีภาวะเสี่ยงเพื่อประเมินและให้ข้อแนะนำในการปฏิบัติตัวตามมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กทุกเดือน 10.รายงานผลการดำเนินโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11672.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,672.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้
2.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระะยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
3.หญิงตั้งครรภ์ไม่เกิดภาวะซีดระหว่างตั้งครรภ์และหญิงตั้งครรภ์ที่พบภาวะซีดได้รับการแก้ไขไม่พบภาะวแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์และคลอด
4.แกนนำอนามัยแม่และเด็กมีความรู้และความสามารถให้คำแนะนำแก่หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครภ์และหญิงหลังคลอดให้มีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม


>