กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง (ส่งเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)ศพด.บ้านศาลาหลวงบน

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง (ส่งเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)ศพด.บ้านศาลาหลวงบน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

ศพด.บ้านศาลาหลวงบน

ศพด.บ้านศาลาหลวงบน หมู่ที่ ๑๐ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑ ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพในบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ส่งเสริมการออกกำลังกาย การสัมผัส ดิน น้ำ การรู้จักเครื่องมือการเกษตร ๓ เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีแปลงผักที่บ้าน ๔ เพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

๑. ร้อยละ 70 เด็กปฐมวัยสามารถบอกวิธีการปลูกผักได้ ๒. ร้อยละ ๗๐ เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาการ ทั้ง ๔ ด้าน ๓. ร้อยละ ๗๐ เด็กปฐมวัยได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
๔. ร้อยละ 10๐ เด็กมีสุขภาพดี

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 66
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2019

กำหนดเสร็จ 31/10/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
การดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ             2. คัดกรองเด็กที่ไม่ชอบกินผัก (แบบ ศพด.) รายงานผลหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ ๓. จัดตั้งกลุ่มผู้ปกครอง อย่างน้อย ๒๐ คน
    ๔. เตรียมพื้นที่ปลูกบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและบ้านของแกนนำผู้ปกครอง                       ๕. ดำเนินการปลูก ๖. บำรุง รดน้ำใส่ปุ๋ยพรวนดิน
    ๗. เก็บผลผลิตให้เด็กปฐมวัยนำกลับไปรับประทานที่บ้าน
                ๘. ครูรณรงค์ให้เด็กปฐมวัยรับประทานผัก             ๙. เตรียมพื้นที่ปลูกต่อในแปลงที่เก็บผลผลิตแล้ว             ๑๐. รายงานผลปริมาณเด็กกินผัก หลังเสร็จสิ้นโครงการ
                ๑๑. แบบรายงานผลตรวจสุขภาพเด็กก่อนและหลังดำเนินโครงการ
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็กปฐมวัยเรียนรู้วิธีการปลูกผัก
  2. เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาการ ทั้ง ๔ ด้าน
  3. เด็กปฐมวัยได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
    ๔. เด็กมีสุขภาพดี
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 เตรียมอุปกรณ์ การจัดซื้อ

ชื่อกิจกรรม
เตรียมอุปกรณ์ การจัดซื้อ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑. คราด  ๑  ด้ามๆละ ๓๐๐ บาท.
๒. เมล็ดพันธุ์พืช ๕00 บาท
๓. จุลินทรีย์ชีวภาพ ๒๕๐ บาท.
๔. กากน้ำตาล   20ลิตร  ๒5๐ บาท. ๕. ปุ๋ยชีวภาพ จำนวน 20 กระสอบๆ ละ ๓๕ บ. = 700 บ.

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้มีวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม ๑. คราด  ๑  ด้ามๆละ ๓๐๐ บาท.
๒. เมล็ดพันธุ์พืช ๕00 บาท
๓. จุลินทรีย์ชีวภาพ ๒๕๐ บาท.
๔. กากน้ำตาล   20ลิตร  ๒5๐ บาท. ๕. ปุ๋ยชีวภาพ จำนวน 20 กระสอบๆ ละ ๓๕ บ. = 700 บ.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการปลูก

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมการปลูก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1 – ๑๕ ส.ค.๖2 เพาะเมล็ดพันธุ์ เด็กเรียนรู้วิธีการคัดเลือกเมล็ดผัก ชนิดของเมล็ดผัก ชนิดต่างๆ
     1 – ๑๕ ส.ค.๖2 เตรียมพื้นที่ปลูก เด็กเรียนรู้การเตรียมดิน อุปกรณ์เครื่องมือการเกษตร
     ๑๖ ส.ค. – ๓๐ ส.ค.๖2 ดำเนินการปลูก เด็กเรียนรู้การปลูกผักชนิดต่างๆ
    16 ส.ค. – ต.ค.๖2 บำรุงรักษา รดน้ำ พรวนดิน ใส่ปุ๋ย เด็กเรียนรู้การเจริญเติบโตของผัก
       - เก็บผักให้กับเด็กนำไปรับประทานที่บ้าน        - ครู/ผู้ปกครองรณรงค์ให้เด็กปฐมวัยรับประทานผัก

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  • เก็บผักให้กับเด็กนำไปรับประทานที่บ้าน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 2,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. ร้อยละ 70 เด็กปฐมวัยสามารถบอกวิธีการปลูกผักได้
๒. ร้อยละ ๗๐ เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาการ ทั้ง ๔ ด้าน
๓. ร้อยละ ๗๐ เด็กปฐมวัยได้รับประทานผักที่ปลอดสารพิษ
๔. ร้อยละ 10๐ เด็กมีสุขภาพดี


>