กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศพด.บ้านศาลาหลวงล่าง

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน

ศพด.บ้านศาลาหลวงล่าง

ศพด.บ้านศาลาหลวงล่างหมู่ที่ ๑๐ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/07/2019

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 วิธีดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
วิธีดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.ขั้นเตรียมการ     ๑.๑ ประชุมครูและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง  เพื่อหาแนวทางในการดำเนินการ    ๑.๒ จัดทำแผนและขออนุมัติจัดทำโครงการและขอความร่วมมือจากบุคลากรทันตสาธารณสุข รพ.สต.ท่าบอน    ๑.๓  เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ สาธิตการแปรงฟัน ๒.ขั้นดำเนินการ    ๒.๑ กิจกรรมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ ๑     ๒.๑.๑ จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปาก     ๒.๑.๒ จัดส่งเสริมสิ่งสนับสนุนทางทันตสุขภาพ  ได้แก่  ชุดอุปกรณ์สาธิตการแปรงฟัน     ๒.๑.๓ ตรวจสุขภาพปากและฟัน กิจกรรมการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์หลังอาหารกลางวันทุกวัน     ๒.๑.๔ สาธิต/ฝึกหัด  การแปรงฟันที่ถูกวิธีให้แก่เด็ก    ๒.๒ กิจกรรมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ ๒          ๒.๒.๑ ตรวจคัดกรองและตรวจสุขภาพช่องปากนักเรียน โดยเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข    ๒.๓ กิจกรรมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ ๓          ๒.๓.๑ จัดทันตบุคลากรออกปฏิบัติงาน ประกอบด้วยกิจกรรมบริการทันตกรรมตามสภาวะในช่องปาก (ตรวจฟัน )

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองเด็กได้รับการฝึกปฏิบัติสอนแปรงฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ๗๐
เด็ก ๓-๕ ปี ได้รับการตรวจ สุขภาพช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 อบรม

ชื่อกิจกรรม
อบรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพแก่ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปาก สาธิต/ฝึกหัด  การแปรงฟันที่ถูกวิธีให้แก่เด็ก ค่าวิทยากรในการประชุมผู้ปกครองจำนวน ๑ คน วันละ ๓ ชั่วโมงๆ ละ 4๐๐ บาท เป็นเงิน ๑,2๐๐ บาท - อุปกรณ์สาธิตการแปรงฟัน เด็ก ๓-๕ ขวบ (แปรงสีฟัน+ยาสีฟัน) จำนวน ๕๒ ชุดๆ ละ ๓๐ บาท เป็นเงิน ๑,๕๖๐ บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองเด็กได้รับการฝึกปฏิบัติสอนแปรงฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ๗๐
เด็ก ๓-๕ ปี ได้รับการตรวจ สุขภาพช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2760.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 2,760.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ผู้ปกครองเด็กได้รับการฝึกปฏิบัติสอนแปรงฟันไม่น้อยกว่าร้อยละ๗๐
เด็ก ๓-๕ ปี ได้รับการตรวจ สุขภาพช่องปาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐


>