กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่ากำชำ

อาสาสมัครสาธารณสุข ม.1

พื้นที่ตำบลท่ากำชำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคติดต่อที่เกิดขึ้นในประเทศไทย นอกจากจะเป็นโรคติดต่อที่เกิดขึ้นตามฤดูกาลแล้ว ยังมีโรคติดต่อที่อุบัติขึ้นมาใหม่และโรคติดต่ออุบัติซ้ำ สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคดังกล่าวนั้นเกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีการดำรงชีวิต การรับประทานอาหารและความก้าวหน้าในการรักษาโรคต่าง ๆ ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังประสบปัญหากับโรคติดต่ออุบัติซ้ำ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคชิคุนกุนยา ซึ่งมียุงลายเป็นพาหะนำโรค โรคติดต่ออุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิด A เอช1เอ็น1 โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Mers) ซึ่งกำลังระบาดอยู่ในปัจจุบัน พบผู้ป่วยที่ติดเชื้อ รวมทั้งเสียชีวิตอีกหลายราย และมีแนวโน้มว่าจะมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ และผู้ที่มีโรคเรื้อรัง จากข้อมูล 3 ปีที่ผ่านมา ในพื้นที่ตำบลท่ากำชำ พบว่ามีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก พ.ศ.2559 จำนวน 7 ราย ปี พ.ศ.2560 จำนวน 8 ราย และ ปี 2561 จำนวน 10 ราย
ดังนั้น ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข ม.1 ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ ตลอดจนเตรียมความพร้อมรับมือกับโรคที่จะเกิดในอนาคต จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคให้ได้ทันท่วงทีและทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน และบริเวณบ้าน

0.00
2 ๒. เพื่อกำจัดยุงตัวแก่

ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน และบริเวณบ้าน

0.00
3 3. เพื่อต้องการเตรียมความพร้อมรับมือการระบาดของโรคติดต่อ

ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน และบริเวณบ้าน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2019

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ไม่พบลูกน้ำในบ้านและบริเวณบ้าน
2. ผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลง
3. แกนนำสุขภาพครอบครัวมีความพร้อมรับมือกับโรคที่จะเกิดขึ้น


>